Page 106 - การรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าของที่ระลึกจังหวัดสตูล
P. 106
91
ตาราง 4.13 (ต่อ)
ค่าใช้จ่ายในการซื้อของที่ระลึกแต่ละครั้ง
ไม่เกิน 500 501 – 1,000 1,001 – 1,501 บาท รวม
ปัจจัยส่วนบุคคล บาท บาท 1,500 บาท ขึ้นไป
จ านวน จ านวน จ านวน จ านวน จ านวน
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
รายได้ต่อเดือน
10,000 บาท หรือต่ า 13(20.31) 29(45.31) 17(26.56) 5(7.81) 64(100.00)
กว่า
10,001 – 20,000 บาท 5(4.17) 60(50.00) 32(26.67) 23(19.17) 120(100.00)
20,001 – 30,000 บาท 14(9.40) 71(47.65) 43(28.86) 21(14.09) 149(100.00)
30,001 – 40,000 บาท 1(4.76) 10(47.62) 6(28.57) 4(19.05) 21(100.00)
40,001 บาทขึ้นไป 4(8.70) 18(39.13) 16(34.78) 8(17.39) 46(100.00)
2
Chi-square = 18.051* df = 12 p-value = .041
วัตถุประสงค์ในการเดินทางมาท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว/พักผ่อน 22(9.69) 117(51.54) 61(26.87) 27(11.89) 227(100.00)
เยี่ยมญาติ/เพื่อน 4(6.67) 23(38.33) 16(26.67) 17(28.33) 60(100.00)
ทัศนศึกษา/ศึกษาดูงาน/ 1(4.00) 10(40.00) 8(32.00) 6(24.00) 25(100.00)
ประชุมสัมมนา
ธุรกิจ/การงาน 10(11.36) 38(43.18) 29(32.95) 11(12.50) 88(100.00)
2
Chi-square = 15.244* df = 9 p-value = .044
*P<.05
จากตาราง 4.13 พบว่า อาชีพ มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายในการซื้อของที่ระลึกแต่
ละครั้งอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวจังหวัดสตูลที่มีอาชีพ
พนักงานบริษัทเอกชน มีค่าใช้จ่ายในการซื้อของที่ระลึกแต่ละครั้ง 501 – 1,000 บาท มากที่สุด
รองลงมาคือ 1,001 – 1,500 บาท
รายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายในการซื้อของที่ระลึกแต่ละครั้งอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวจังหวัดสตูลที่มีรายได้ต่อเดือน 20,001 –