Page 12 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 12

RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019
































                                                ภาพที่ 3 พิธีร�าคล้องหงส์
                                            ภาพถ่ายโดย: จักรภัทร พรหมสิงห์


                               ี
                     �
                เมือง ทาให้โรงโนราท่เป็นเพียงโรงโนราธรรมดา กลายเป็นมณฑลพิธีท่สามารถประกอบพิธีกรรมได้ เหมือนการสร้าง
                                                                 ี
                                 �
                                                                                 �
                โบสถ์ก็ต้องสวดคาถาทาพิธีปลุกเสกในโบสถ์ ปลุกเสกสวดคาถาพิธีกรรมของโนราก็ต้องทาในโรงโนราจึงต้องทา
                                                                                                 �
                                                             ู
                                          ั
                                  ี
                โรงโนราให้เป็นมณฑลพิธ โรงโนราน้นจะต้องไม่มีการตอกตะป ให้ความแข็งแรงของโรงโนราด้วยการผูกมัด มีการ
                                           ั
                             ิ
                                                                         ั
                                           ้
                                                               ั
                                                                  ั
                                                                  ้
                                                                                         ี
                                                                                       ี
                 �
                ดาเนินการตามพธีการต่าง ๆ ตามขนตอนอย่างเคร่งครด ไม่ตดขนตอนใดข้นตอนหน่งออก มพิธการเชิญคร  ู
                                                          ั
                                                                                 ึ
                (กาศครู) พิธีบวงสรวงครู พิธีแห่ผ้าผูกต้นโพธิ์ ร�าถวายศาล พิธีร�าแก้บน การเหยียบเสน ออกพราน ร�า 12 ค�าพลัด
                เชิญตายายเข้าทรงในร่างทรง มีการร�าคล้องหงส์ ร�าแทงเข้ และการบูชาวิญญาณครูหมอโนรา
                       ส่งเหล่าน้ทาเพ่อบูชาวิญญาณครูหมอโนราหรือบรรพบุรุษ เม่อถึงเวลาของเขา เขาก็จะมาประทับทรง
                              ี
                        ิ
                                                                    ื
                                  ื
                               �
                                                                                 ี
                เพ่อเป็นการแสดงให้รู้ถึงการมีอยู่จริง ยังมีวิญญาณครูหมอโนรา วิญญาณของพรรพบุรุษท่มาเข้าทรงและรักษาคน
                  ื
                หรือท่มีการมาทาพิธีกรรมต่าง ๆ ท่มีความสาคัญ หรือเป็นการแสดงออกว่าได้มีวิญญาณของครูหมอโนราต่าง ๆ ได้มา
                                        ี
                                               �
                    ี
                           �
                แสดงจุดก�าเนิดของโนรา วิญญาณบางส่วนมาจากการเชิญโดยที่โนราที่ได้กล่าวเชิญด้วยบทกลอน เชิญให้มาประทับ
                ทรงเขาเหล่านั้นก็มา ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ค่อนข้างอธิบายได้ยากในโลกของปัจจุบัน เพราะเป็นเรื่องของไสยศาสตร์
                จิตวิทยา รวมถึงเหตุการณ์หลาย ๆ อย่างที่ท�าให้บางคนมีอาการแบบนั้น (อาการเข้าทรง) บางคนมีวิญญาณของครู
                หมอโนรามาทรงเต็มตัวทาให้ไม่สามารถรับรู้อะไรได้ สาหรับบางคนก็มาเพียงแอบในร่าง ยังมีความเป็นจริตตัวตน
                                  �
                                                       �
                ของเราอยู่ หรือบางคนก็เพียงแค่อาศัยในการผ่านร่างไม่ได้ทาให้ลืมตัว แต่มาอยู่เพ่อเป็นการแสดง เป็นการแสดง
                                                                            ื
                                                           �
                ถึงการมีอยู่ของวิญญาณครูหมอโนรา แสดงให้เห็นว่าวันน้ท่านเหล่าน้นได้มาถึงแล้ว มากราบพ่อขุนศรีศรัทธาแล้ว
                                                         ี
                                                                  ั
                (สัมภาษณ์เกรียงเดช, 2560)
                                                        11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17