Page 15 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 15

วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562


                       ปัจจุบันนอกจากการท�าหน้าที่เป็นโนราเจ้าพิธีในประเพณีโนราโรงครูวัดท่าแคแล้ว เกรียงเดชยังท�าหน้าที่
                สื่อสาร สืบทอด ด�ารงรักษา และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมอันงดงามของภาคใต้อย่างโนราสู่เยาวชนรุ่นหลัง โดยการ

                                                        ื
                                                          ่
                                                          ี
                                                                                ี
                                        �
                เปิดสอนและถ่ายทอดศิลปะการราโนราแก่เยาวชนในพ้นท ณ วัดท่าแค อีกด้วย ตามท ชวน เพชรแก้ว (2540,
                                                                                ่
                                                            ึ
                                                                                      ึ
                                    ี
                น. 146) ได้กล่าวไว้ว่า การท่ลูกหลานของชาวบ้านหรือศิลปิน ซ่งได้ผ่านระบบการศึกษามาระดับหน่ง ล้วนแต่ได้ปรับ
                                       ิ
                                     ั
                                                                   ั
                ตัวเข้าสู่ระบบสังคมใหม่แล้วท้งส้น จะโดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม เขาเหล่าน้นแปลกแยกจากสังคมเดิม จากคุณค่าและ
                มรดกทางวัฒนธรรมไปแล้วอย่างมาก ทั้งนี้ เพื่อให้ลูกหลานเยาวชนรุ่นหลังได้ซึมซับคุณค่าและมรดกทางวัฒนธรรม
                                                                               ิ
                รวมถึงยังคงเป็นการรักษาและส่งต่อศิลปวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นอีกด้วย เพราะแม้ทุกส่งในโลกต่างเปล่ยนแปลง
                                                                                           ี
                ไปตามกาลเวลา ตามยุคสมัย ตามความเจริญก้าวหน้า ซึ่งเราไม่อาจควบคุมหรือปฏิเสธสิ่งเหล่านี้ได้ แต่เราก็สามารถ
                         ื
                            ี
                ท่จะเรียนรู้เพ่อท่จะยอมรับการเปล่ยนแปลงท่เกิดข้น เพ่อเป็นส่วนหน่งในการช่วยสืบทอดและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
                 ี
                                                    ึ
                                                       ื
                                                ี
                                         ี
                                                                ึ
                ท้องถ่นอันงดงามให้คงอยู่ต่อไป อย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม พิธีกรรมด้งเดิมและสอดคล้องเหมาะสมกับวิถีชีวิต
                                                                     ั
                    ิ
                ในปัจจุบันและอนาคตที่จะเกิดขึ้น ในประเด็นนี้ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการสืบทอดโดยเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้
                               �
                ศิลปวัฒนธรรมการราโนราสู่เยาวชนรุ่นหลัง ให้เยาวชนได้มีการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมอันงดงามและมีการคุณค่า
                รวมถึงสามารถร�าโนราเพื่อแสดงในงานต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับ สุธีรา อะทะวงษา (2560, น. 146) ได้ศึกษาแนวทาง
                                                                                        �
                                                                     ี
                                                                            �
                                                                  ื
                การสืบทอดวัฒนธรรมการฟ้อนสาวไหมสู่ กลุ่มคน 3 วัย ของชุมชนพ้นท่เทศบาลตาบลสิริเวียงชัย อาเภอเวียงชัย
                                               ็
                                  ี
                                                                        ู
                 ั
                จงหวดเชยงราย พบว่ามการฝึกอบรมให้เดกและเยาวชน เป็นการถ่ายทอดภมปัญญาการฟ้อนสาวไหมให้แก่คน
                                                                         ิ
                       ี
                    ั
                รุ่นหลัง และสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้นาการฟ้อนสาวไหมไปแสดงในงานต่าง ๆ เป็นการสร้างช่อเสียง
                                                                                             ื
                                                  �
                สร้างรายได้ และเผยแพร่วัฒนธรรมการฟ้อนสาวไหมให้ยังคงอยู่คู่กับชุมชนต่อไป นอกจากน การสืบทอดและ
                                                                                     ้
                                                                                     ี
                การด�ารงรักษาโดยการร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในพื้นที่
                                                                                             ิ
                       การมีสถาบันการศึกษาเข้ามาร่วมสืบทอดการแสดงหนังตะลุงในรูปแบบของ ชมรม “สืบศิลป์ ถ่นใต้”
                ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ซึ่งหากมองในมิติการสืบทอดจะเห็นได้ว่า สถาบันการศึกษาเป็นกลไกส�าคัญ
                                                                          ื
                ท่มีบทบาทต่อกระบวนการสืบทอดการแสดงหนังตะลุงในการนามาเป็นส่อการเรียนให้กับนักศึกษาแล้ว
                 ี
                                                                  �
                ขณะเดียวกันก็เป็นการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไปด้วยในตัว ซ่งอาจเรียกได้ว่า สถาบันการศึกษาได้
                                                                      ึ
                ท�าหน้าที่ทั้งใช้และพัฒนาตัวสื่อไปด้วยเช่นเดียวกัน
                                                                �
                                                                          ื
                              ่
                              ี
                       ในขณะท ธราทิพย์ กันตะวงษ์ (2559, น. 2034) ก็ได้ทาการศึกษาเร่องการร�าโนราแทงเข้ในพิธีไหว้คร ู
                                                                �
                โนราของวัดท่าแค จังหวัดพัทลุง พบว่า การร�าโนราแทงเข้เป็นการราอวดฝีมือและความสามารถของผู้แสดง อันเป็น
                                 ิ
                                        ึ
                มรดกวัฒนธรรมท้องถ่นภาคใต้ซ่งถือเป็นพิธีกรรมส�าคัญของเช้อสายนักแสดงโนราทางภาคใต้ โดยให้วัดท่าแค
                                                              ื
                ตาบลท่าแค อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เป็นศูนย์กลางของการทาพิธ โนราแทงเข้ประกอบไปด้วยผู้แสดง เคร อง
                                                                                                ่
                 �
                           �
                                                                                                ื
                                                               �
                                                                  ี
                                                                           ี

                                                         ่
                                                         ี
                                                                           ่
                                 ี
                แต่งกาย เคร่องดนตร บทร้อง การแต่งกาย โอกาสท ใช้ในการแสดง สถานท อุปกรณ์การแสดง โนราได้ม ี
                          ื
                                                                                        �
                              ี
                      ี
                การเปล่ยนแปลงท่ เกิดข้นตามกระแสโลกแห่งเทคโนโลยีโดยเฉพาะ ทาให้ความนิยมในศิลปะการราโนราแทงเข้
                                                                   �
                                  ึ
                ลดน้อยลงโดยเยาวชนได้หันไปสนใจกับความบันเทิงทันสมัยจนเกินขอบเขตก่อให้เกิดการเบ่ยงเบนไปจากวัฒนธรรม
                                                                                 ี
                อันดีงามของสังคมไทย ดังนั้น เพื่อเป็นการสืบทอดและด�ารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแคอย่างยั่งยืน จึงมีหน่วยงาน
                                     �
                ให้ความสนใจเข้ามาในการดารงและรักษาไว้ซ่งศิลปวัฒนธรรมอันงดงาม เช่น สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง
                                                 ึ
                                                                          �
                                                        14
   10   11   12   13   14   15   16   17   18