Page 11 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 11
วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562
ภาพที่ 2 พิธีเหยียบเสน
ภาพถ่ายโดย: จักรภัทร พรหมสิงห์
�
ื
ี
ื
ื
โนรา) เน่องจากเช่อถือกันว่าวัดท่าแคเป็นท่อยู่ของครูหมอโนรา หากทาพิธีตัดเหมรย เม่อเสร็จพิธีเท่ากับท�าพิธีตัดขาด
จากครู พิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแคจึงสิ้นสุด หลังจากท�าพิธีแทงเข้ ในวันที่ 3 ซึ่งเป็นวันศุกร์ จากนั้นก็เป็นอันเสร็จ
พิธีโนราโรงครูวัดท่าแค
ส�าหรับการร�าคล้องหงส์ ในพิธีเข้าโรงครูเป็นไปเพื่อให้พิธีสมบูรณ์ ส�าหรับการร�าคล้องหงส์ใช้ผู้ร�า จ�านวน
8 คน โดยมีโนราใหญ่เป็น “พญาหงส์” และโนราอื่น ๆ จ�านวน 6 คนเป็นเหล่าหงส์ โดยผู้ร�าเป็นนายพราน 1 คน
ส�าหรับการร�าคล้องหงส์จะมีการสมมติท้องเรื่องเป็นสระอโนดาต ร้องบทท�านองกลอนพญาหงส์ ในขณะที่หงส์ก�าลัง
�
ร้องกลอนบททานองพญาหงส์ ผู้รับบทบาทเป็นนายพรานจะออกมาด้อม ๆ มอง ๆ เพ่อจะเลือกคล้องพญาหงส์
ื
�
นายพรานไล่คล้องได้พญาหงส์ พญาหงส์ใช้สติปัญญาจนสามารถหลุดพ้นจากบ่วง เป็นการจบการราคล้องหงส์
ื
โดยเช่อกันว่าการราคล้องหงส์ในโรงครูท้งตัวพญาหงส์ คือ โนราใหญ่และผู้แสดงเป็นพราน มีครูโนราเข้าทรงด้วย
ั
�
ดังแสดงในภาพที่ 3
ี
ิ
�
หลังจากเสร็จส้นพิธีกรรมของโนราโรงครูวัดท่าแคแล้ว จะมีเงินท่ได้รับจากการบูชาครูหมอโนรา สาหรับ
ุ
�
่
้
ี
ี
่
�
็
ิ
่
ี
่
ู
ื
้
ู
่
เงนทไดจากการบชาครหมอโนราเปนหนาทของโนราใหญทจะนาไปทาบญและใหทาน เมอเสรจพธกรรมโนราโรงคร ู
ี
ิ
็
้
�
หน่งโรงจากน้นก็จะต้องไปวัด นาปิ่นโตไปถวายพระเพ่อท่เราจะได้ทาบุญถึงครูอาจารย์บรรพบุรุษและให้พระท่านได้
ึ
�
ั
ี
ื
�
ี
�
ี
ี
ส่งถึงบรรพบุรุษท่ได้ล่วงลับไปแล้ว ผู้ทาหน้าท่โนราใหญ่จะต้องมีหน้าท่ในการทาพิธีการ (สัมภาษณ์เกรียงเดช, 2560)
อัตลักษณ์ที่ปรากฏในพิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแค
โนราโรงครูวัดท่าแคมีความอัตลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างจากโนราโรงครูท่อ่น ๆ และมีความเคร่งครัด
ื
ี
ถือธรรมเนียมการดาเนินตามพิธีกรรมด้งเดิม เช่น พิธีกรรมของการต้งบ้านต้งเมือง ก็เช่อกันว่าเป็นการสร้างบ้านสร้าง
ั
�
ื
ั
ั
10