Page 16 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 16

RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019


                                                                                     ่
                                                                                     ื
                องค์การบริหารส่วนต�าบลท่าแคร่วมมือกันจัดโครงการสืบสานศิลปะถ่นโนราหรือโนราโรงครูข้น เพ อเป็นการสืบทอด
                                                                                  ึ
                                                                 ิ
                                                                                              ู
                                                                                   ื
                                                              ิ
                                                            �
                                         ื
                                         ่
                                                                                        ั
                 ิ
                    ั
                                                                                      �
                                                                                ิ
                ศลปวฒนธรรม เพราะชาวบ้านเชอว่าบ้านท่าแคเป็นแหล่งกาเนดโนราและเป็นแหล่งสถตหรอพานกของครโนรา
                                                                                    ่
                                                                                    ี
                                                                                               ั
                                             ี
                                             ่
                พิธีไหว้ครูหรือโนราโรงครูเป็นพิธีกรรมท แสดงถึงความกตัญญูต่อครูหมอโนราและบรรพบุรุษท เป็นโนรารวมท้งพิธ ี
                                                              ื
                แก้เหมย (แก้บน) ในกรณีท ่มีการบนบานในด้านต่าง ๆ และเพ อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนได้มีเวท  ี
                                    ี
                                                              ่
                                                         �
                การแสดงและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ในปัจจุบันการราโนราโรงครูวัดท่าแคยังมีการจัดขึ้นในทุก ๆ ปี ในวันพุธที่
                2 ของเดือน 6 ถือว่าวัดท่าแคยังคงรักษา และยังเป็นการสืบทอดโนราโรงครูวัดท่าแคไว้สืบไป ซึ่งถือเป็นการสืบทอด
                และการธ�ารงรักษาไว้อันศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงามและมีความเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้ได้อย่างดียิ่ง
                สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
                       สรุปผลการวิจัย
                                                                               ี
                                                                               ้
                                                   �
                       จากการศึกษาวิจัยผู้วิจัยสรุปประเด็นสาคัญจากการวิจัยได้ 4 ประเด็น ดังน 1) การดารงอยู่ของโนรา
                                                                                      �
                โรงครูวัดท่าแคเกิดจากความเชื่อและความศรัทธา โดยมีวัดท่าแค ต�าบลท่าแค อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เป็นแหล่ง
                                    ู
                                                               �
                                                                           ี
                                                       ี
                                         ื
                                                   ี
                ประกอบพิธีกรรมโนราโรงคร โดยเช่อกันว่าสถานท่แห่งน้เป็นแหล่งกาเนิดและสถานท่สถิตของครูหมอและตายายโนรา
                (บรรพบุรุษ) 2) ลักษณะของการจัดงาน ผู้เข้าร่วมพิธีกรรม เครื่องสักการบูชา เครื่องแต่งกาย เครื่องดนตรี สถานที่
                เวลา ความหมายของพิธีกรรมโนราโรงครู จะเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิมอย่างเคร่งครัด มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ใน
                พิธีโบราณท่หาชมได้ยากและมีข้นตอนประกอบพิธีกรรมครบถ้วน อีกท้งยังมีพิธีกรรมบางอย่างเป็นเอกลักษณ์
                         ี
                                                                     ั
                                        ั
                                                                                          ่
                                                                                          ี
                                        ั
                แตกต่างไปจากพิธีโนราโรงครูท่วไป 3) ปัจจุบันโนราโรงครูวัดท่าแคมีผู้สืบทอดรับช่วงต่อเป็นรุ่นท 3 โดยม ี
                “โนราเกรียงเดช ขาณรงค์” เจ้าของคณะโนรา “เกรียงเดชน้อย นวลระหงส์” อันโด่งดังแห่งภาคใต้ เป็นนายโรงโนรา
                             �
                                                       ึ
                                                                    ี
                มาทาหน้าท่เป็นผู้นาในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ซ่งเช่อกันว่าเป็นผู้ท่โชคชะตาได้มีการวางตัวให้เป็นผู้สืบทอด
                                                          ื
                              �
                   �
                         ี
                                                           ู
                ทาหน้าทเจ้าพธีกรรมไว้แล้ว 4) การดารงอยู่ของโนราโรงครวัดท่าแคเป็นไปอย่างเคร่งครัดและบทบาทหน้าท่ของ
                       ่
                       ี
                                            �
                          ิ
                                                                                               ี
                 �
                                                               ี
                                                                                ื
                เจ้าพิธกรรมยังคงสืบทอดต่อเนองมาจนถงปัจจุบัน ได้แก่ หน้าท่ในการสืบทอดความเช่อ ความศรัทธา สืบทอด
                                       ่
                     ี
                                              ึ
                                       ื
                อัตลักษณ์ของโนราโรงครูวัดท่าแค หน้าที่ในการสร้างความมั่นคงทางจิตใจ หน้าที่ในการให้ความบันเทิง และหน้าที่
                ในการสื่อสาร สืบทอดและการด�ารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแคสู่คนรุ่นหลัง

                       ข้อเสนอแนะ
                                                       �
                                                                               ิ
                                                 ี
                       1. หน่วยงานภาครัฐ เช่น การท่องเท่ยวประจาจังหวัด องค์การบริหารส่วนท้องถ่น ควรจะมีการจัดรวบรวม
                                                            ี
                                                                                          �
                ข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลทางทางประวัติศาสตร์ด้านพิธีกรรมเก่ยวกับโนราโรงครูวัดท่าแค ตาบลท่าแค อาเภอเมือง
                                                                                 �
                จังหวัดพัทลุง โดยจัดเป็นชุดข้อมูลเพ่อท่จะสามารถสืบค้นและศึกษาข้อมูลได้อย่างต่อเน่องและสอดคล้องกับยุคสมัย
                                            ี
                                          ื
                                                                              ื
                        ั
                           ็
                                                                                               ิ
                                                                                                ิ
                                                                                            �
                เช่น การจดเกบเป็นเทคโนโลยสารสนเทศ จดเกบในรปแบบ e-book เป็นต้น ตลอดจนการจัดทาปฏทน
                                                      ็
                                                          ู
                                                   ั
                                        ี
                การท่องเที่ยวเพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม พิธีกรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดอย่างต่อเนื่อง
                                                                     ู
                                                                              �
                       2. ควรมีกิจกรรมการส่งเสริมถ่ายทอดองค์ความรู้โนราโรงคร หรือการรามโนราห์สู่เยาวชนรุ่นหลัง
                เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลทางศิลปะ วัฒนธรรม พิธีกรรม ที่มีคุณค่าต่อสังคม
                                                        15
   11   12   13   14   15   16   17   18