Page 14 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 14

RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019


                อภิปรายผลการวิจัย

                                                                       ี
                           ี
                                                                                          ั
                                                                                        ึ
                       จากท่ผู้วิจัยได้กล่าวไว้ในผลการศึกษาว่าโนราโรงครูไม่มีหลักฐานท่ปรากฏชัดเจนว่าเกิดข้นต้งแต่เมื่อใด
                                                                                    ื
                                                                                       ี
                ผู้วิจัยขอกล่าวอภิปรายผลการศึกษาในส่วนของโนราโรงครูวัดท่าแค ซ่งเป็นวัฒนธรรมและความเช่อท่มีความละเอียด
                                                                 ึ
                                                 ั
                อ่อนและลึกซ้ง มีการส่อสารเป็นระบบ เป็นข้นเป็นตอน มีการสืบทอดและจัดข้นอย่างต่อเน่องทุกปีจนถึงปัจจุบัน
                                                                         ึ
                                                                                  ื
                          ึ
                                 ื
                จนกลายเป็นโนราโรงครูใหญ่วัดท่าแค เป็นศูนย์รวมและการหล่งไหลมารวมกันของผู้มีเช้อสายโนราจากทุกท่วสารทิศ
                                                                              ื
                                                            ั
                                                                                            ั
                                                                ื
                             �
                แสดงให้เห็นการดารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแคท่เกิดจากความเช่อและความศรัทธา โดยมีวัดท่าแค ตาบลท่าแค
                                                                                          �
                                                    ี
                อ�าเภอเมือง เป็นแหล่งประกอบพิธีกรรมโนราโรงครู มีเอกลักษณ์และเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของโนราโรงครูวัดท่าแค
                                                                    ื
                                                                                ื
                                                                                             ่
                โดยลักษณะของการจัดงาน ผู้เข้าร่วมพิธีกรรม เคร่องสักการบูชา เคร่องแต่งกาย เคร่องดนตร สถานท เวลา
                                                                                             ี
                                                      ื
                                                                                       ี
                                                            ั
                ความหมายของพิธีกรรมโนราโรงคร จะเป็นไปตามประเพณีด้งเดิมอย่างเคร่งครัด ซ่งปัจจุบันโนราโรงครูวัดท่าแค
                                          ู
                                                                             ึ
                                                                                                ่
                มโนราเกรยงเดช ขาณรงค์ เป็นผ้สบทอดรบช่วงต่อจากร่นป่ (โนราแปลก) และร่นน้า (โนราสมพงศ์) เป็นร่นท 3
                                        ู
                                                         ุ
                              �
                                                           ู
                                                                                                ี
                                               ั
                                                                                             ุ
                                                                          ุ
                 ี
                       ี
                                         ื
                จากการวิเคราะห์ จะพบว่า การสืบทอดโนราโรงครูวัดท่าแคเป็นการสืบทอดจากบุคคลภายในครอบครัว จากรุ่นปู่
                                                      �
                                                  ี
                                                                                ิ
                                                                             ี
                                                                                 ี
                                                                                                ั
                                                                                             �
                                                                ู
                                                              ั
                                                                 ื
                                                                             ่
                                                                       �
                                     ั
                                   ื
                                 ึ
                                   ่
                  ุ
                 ู
                                 ่
                         ุ
                ส่ร่นน้าและร่นหลาน ซงเชอกนว่าโชคชะตาได้มการกาหนดวางตวผ้สบทอดทาหน้าทเจ้าพธกรรมโนราใหญ่สาหรบ
                โนราโรงครูวัดท่าแคไว้แล้ว สอดคล้องกับ ธันยาภรณ์ โพธิกาวิน (2560, น. 536) กล่าวถึงการด�ารงอยู่ของวงดนตรี
                แก้วบูชา พบว่า การด�ารงอยู่ของวงดนตรีแก้วบูชา เป็นการสืบทอดจากบุคคลภายในครอบครัว ซึ่งเป็นกระบวนการ
                ทสาคญเป็นอนดบแรกในการดารงอย่ของวงดนตรแก้บชา ครอบครวเป็นสถาบนแรกในการปลกฝังความคด
                             ั
                          ั
                    ั
                                                          ู
                                                                   ั
                                                                                        ู
                                                      ี
                                                                            ั
                                                                                                ิ
                                            ู
                 ี
                  �
                                       �
                 ่
                ความเชื่อ จนเกิดเป็นความรัก และความรู้สึกที่ต้องสืบทอดต่อสิ่งที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้ โดยสามารถกล่าวได้ว่าการ
                                                 ั
                เปล่ยนแปลงและส่งต่อการเป็นเจ้าพิธีกรรมน้นเป็นการเปล่ยนแปลงภายในชุมชนท่าแค ส่งน้ก่อให้เกิดพิธีกรรมท ่ ี
                                                                                   ี
                                                                                 ิ
                   ี
                                                           ี
                                                  ิ
                                                            �
                ใช้ฐานความคิดเดิม คือ พิธีครอบเทริดเพ่อเร่มต้นในการราโนราของเด็ก โดยครูผู้ฝึกสอนหรือพ่อแม่จะเป็น
                                                ื
                             ื
                                            ึ
                                                           �
                                                                                        ื
                ผู้ครอบเทริดให้เพ่อความเป็นสิริมงคล ซ่งเกรียงเดชสามารถทาหน้าท่ของตนเองในการเป็นโนราใหญ่เพ่อการดารงอย ู่
                                                                ี
                                                                                             �
                ของโนราโรงครูวัดท่าแคให้เป็นไปอย่างเคร่งครัดและยังคงท�าหน้าที่ตามบทบาทของเจ้าพิธีกรรมสืบทอดต่อเนื่องมา
                                                      ื
                จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ หน้าท่ในการสืบทอดความเช่อ ความศรัทธา สืบทอดอัตลักษณ์ของโนราโรงครูวัดท่าแค
                                     ี
                                                 ี
                                                                              ื
                    ี
                หน้าท่ในการสร้างความม่นคงทางจิตใจ หน้าท่ในการให้ความบันเทิง และหน้าท่ในการส่อสาร สืบทอดและการดารง
                                                                                               �
                                  ั
                                                                        ี
                อยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแคสู่คนรุ่นหลัง เพราะความเช่อและศรัทธาเหล่าน้เอง ทาให้พิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแค
                                                       ื
                                                                      ี
                                                                          �
                                                                ื
                                                                          ั
                จึงยังคงอยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนในชุมชนท่าแครวมถึงคนใต้ในพ้นอ่น ๆ อย่างม่นคงและยืนยาวมาจนถึงทุกวันน  ้ ี
                                                              ื
                                                                                             ื
                ถึงแม้ว่ากระแสของวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์สมัยใหม่จะส่งผลให้ความเข้มแข็งศรัทธาและความเช่อของ
                ขนบประเพณีโบราณลดลงบ้างก็ตาม แต่ก็ไม่ได้ท�าให้ผู้คนลดความเชื่อและศรัทธาลงได้เลย ดังที่ ประสิทธิ์ รัตนมณี
                        ี
                                                                           ื
                                                                   ั
                และ นราวด โลหะจินดา (2550, น. 146) กล่าวว่า อิทธิพลของความเช่อด้งเดิมเน้นเร่องการนับถือวิญญาณบรรพบุรุษ
                                                                 ื
                การเคารพต่อธรรมชาติ การบรรเลงเครื่องดนตรีเป็นสัญลักษณ์ของการสื่อสาร ซึ่งเป็นโครงสร้างพิธีกรรมทางสังคม
                ของชาวบ้าน จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่า กระบวนการสืบทอดของโนราโรงครูได้มีวิธีการถ่ายทอดและเรียนรู้ใน
                                                                          ู้
                                              ี
                ลักษณะแบบครอบครัว โดยมีบรรพบุรุษท่มีความรู้ด้านโนราเป็นผู้ถ่ายทอดความร แล้วส่งต่อความรู้น้นไปสู่รุ่นต่อรุ่น
                                                                                       ั
                                ่
                                    ้
                                    ั
                                ี
                                                      ื
                                                                       ู
                                                                    ิ
                โดยมีวธีการถ่ายทอดทเป็นขนเป็นตอนผ่านการเล่าเร่องราวให้ฟัง ปฏิบตให้ดและได้เห็นเป็นตวอย่าง มส่วนร่วมใน
                                                                                   ั
                     ิ
                                                                                          ี
                                                                   ั
                พิธีกรรม และการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้จดจ�า และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
                                                        13
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18