Page 7 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 7
วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562
ื
�
ื
วิจัยหลายประเภท ประกอบด้วย เคร่องบันทึกเสียง กล้องบันทึกภาพ สมุดสาหรับจดบันทึกเพ่อบันทึกข้อมูล
ภาคสนาม รวมถึงตัวของผู้วิจัยเองเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ประเด็นค�าถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
�
�
จะมีความยืดหยุ่น โดยสามารถปรับคาถามได้ตามสถานการณ์ในขณะสัมภาษณ์ โดยผู้วิจัยกาหนดคาถามแบบเจาะลึก
�
ไว้ล่วงหน้า ซ่งเป็นคาถามลักษณะปลายเปิด ท่สามารถยืดหยุ่นและเพ่มหรือลดประเด็นคาถามตามสถานการณ์
�
ิ
ึ
�
ี
ี
ื
ื
ี
ี
�
่
เฉพาะหน้าท่พบได้ เพ่อให้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสามารถเล่าเร่องและประสบการณ์ท่พบได้อย่างเต็มท โดยมีประเด็นคาถาม
หลัก ดังนี้ 1) ความเป็นมาของโนราโรงครูวัดท่าแค 2) พิธีกรรมและขั้นตอนของโนราโรงครูวัดท่าแค 3) อัตลักษณ์
ที่ปรากฏในพิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแค และ 4) การสืบทอดบทบาทเจ้าพิธีกรรมของโนราโรงครูวัดท่าแค
การตรวจสอบข้อมูล
ื
ในการศึกษาคร้งนี้เพ่อให้ข้อมูลท่เป็นข้อเท็จจริงท่มีความน่าเช่อถือ ผู้วิจัยได้มีการตรวจสอบข้อมูล
ั
ื
ี
ี
เชิงคุณภาพ ใช้วิธีการยืนยันความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลโดยให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้อ่านข้อมูล ทักท้วงและเสนอแนะ
ข้อมูลที่ได้มาและการตรวจสอบแบบสามเส้าด้านข้อมูล (Data Triangulation) โดยเก็บข้อมูลประเด็นเดียวกันจาก
ี
ึ
ั
ี
ี
คนหลายกลุ่ม ท้งผู้ท่มีส่วนเก่ยวข้องโดยตรงกับพิธีกรรม ผู้เข้าร่วมเป็นส่วนหน่งในพิธีกรรม และประชาชนท่มาชม
ื
ี
ั
พิธีกรรมเพียงอย่างเดียว เพ่อเป็นการพิสูจน์ว่าข้อมูลท่ผู้วิจัยได้มาน้นถูกต้องหรือไม่ รวมถึงการตรวจสอบกับเอกสาร
ี
ี
ท่เก่ยวข้อง ตรวจสอบข้อมูลท่ได้กับนักวิชาการท่เคยทาการศึกษามาก่อนและตรวจสอบข้อมูล ชุดเดียวกันกับผู้ให้
�
ี
ี
สัมภาษณ์รายอื่น ๆ อีกด้วย โดยผู้วิจัยได้สืบค้นเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับโนราโรงครูเพื่อน�ามาประกอบการ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล จ�านวน 10 ฉบับ
ื
ี
ผู้วิจัยมีวิธีมีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยก่อนการลงพ้นท่ภาคสนามเพ่อเก็บข้อมูลในพิธีกรรมโนราโรงคร ู
ื
วัดท่าแค ต�าบลท่าแค อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ผู้วิจัยได้ท�าการรวบรวมศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับพิธีกรรมโนราโรงครู เพื่อศึกษาความเป็นมาและขั้นตอนกระบวนการต่าง ๆ ของพิธีกรรมโนราโรงครูเพื่อให้เกิด
ความเข้าใจและสามารถนามาใช้เป็นข้อมูลเบ้องต้นในการลงภาคสนาม ผู้วิจัยได้ขออนุญาตเก็บข้อมูลจากผู้รู้
ื
�
เจ้าพิธีกรรม ผู้เข้าร่วมพิธีกรรม และประชาชนผู้มาชมโนราโรงครูวัดท่าแค นอกจากน ผู้วิจัยยังเก็บข้อมูลต่าง ๆ
ี
้
�
ึ
ี
ด้วยการสังเกตการณ์ (Observation) ในการทากิจกรรมและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่เกิดข้นในงานพิธีกรรมโนรา
โรงครูวัดท่าแคเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องครบถ้วน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ี
�
ั
งานวิจัยคร้งน้ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการเชิงพรรณนา ไปพร้อม ๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล
ื
ี
ี
ภาคสนามท่ได้จากการสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์ เพ่อให้ได้ข้อมูลท่ถูกต้องผู้วิจัยจึงใช้แนวคิดและทฤษฎ ี
มาวิเคราะห์และตีความปรากฏการณ์ท่เกิดข้นในพ้นท่ท่ศึกษาโดยใช้ทัศนะของคนใน (Emic) และทัศนะของคนนอก
ื
ี
ึ
ี
ี
ั
(Etic) มาช่วยอธิบายปรากฏการณ์ หลังจากน้นจึงนาข้อมูลท่ได้มาจาแนกและจัดหมวดหมู่ออกเป็นระบบ ตีความ
ี
�
�
ื
ั
ั
ู
ั
ื
ข้อมล โดยอาศยเครองมอทางความคด (Conceptual Tools) เพอให้เข้าใจถงความหมายและความสมพนธ์ของ
่
ื
ึ
ิ
่
ึ
ปรากฏการณ์จากทัศนะของผู้ถูกวิจัย หาความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยมีกรอบการวิเคราะห์ซ่งใช้แนวคิดทฤษฎ ี
ี
ท่เก่ยวข้อง ใช้ภาพรวมของปรากฏการณ์ ใช้บริบทของปรากฏการณ์ มาอภิปรายผลในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์
ี
(Analysis Descriptive) และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนน�าเสนอผลการวิจัย
6