Page 8 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 8
RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019
ผลการวิจัย
ความเป็นมาของโนราโรงครูวัดท่าแค
ี
ื
ั
ี
�
โนราโรงครูน้นไม่มีปรากฏหลักฐานว่ามีมาแต่เม่อใด ในท่น้ขอกล่าวเฉพาะโนราโรงครูวัดท่าแค ตาบลท่าแค
อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง การจัดงานโนราโรงครูวัดท่าแคถือก�าเนิดมาหลายปีแล้ว ยังไม่แน่ชัดว่าจัดขึ้นตั้งแต่เมื่อใด
้
ั
ิ
ี
ี
แต่ท่มีหลักฐานชัดเจนถึงการจัดโนราโรงครูใหญ่อย่างท่เห็นในปัจจุบันน ได้เร่มมาต้งแต่ปี พ.ศ. 2514 ด้วยเหตุท ่ ี
ี
วัดแห่งนี้มีหลักพ่อขุนศรีศรัทธา หรือ เขื่อนขุนทา ปรมาจารย์โนรา ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของวัด พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร ผู้ก่อให้เกิดโนราโรงครูวัดท่าแค จึงทรงสร้างรูปปั้นขุนศรีศรัทธาและพรานบุญ บริเวณ
ื
ื
ื
ศาลาเข่อนขุนทา เพ่อประดิษฐานรูปปั้นเป็นอนุสรณ์ของขุนศรีศรัทธา และจากความเช่อว่าขุนศรีศรัทธาเป็นคร ู
คนแรก จึงจัดให้มีโนราโรงครูขึ้นที่วัดท่าแค โดยมี โนราแปลก (แปลก ชนะบาล) เป็นครูโนราอาวุโสของบ้านท่าแค
ิ
ั
�
ู
�
ี
ึ
ั
�
ุ
ั
ั
ุ
ั
้
้
ุ
ั
ั
ั
และจงหวดพทลง เป็นผ้นาสาคญและเป็นเจ้าพธกรรมในร่นแรก โดยนบตงแต่นนเป็นต้นมา จงได้กาหนดให้วนพธ
สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน 6 มีการจัดพิธีไหว้ครูโนราและร�าโนราโรงครูถวาย ชาวบ้านที่เชื่อว่าตนเองมี “ตายายโนรา”
ั
ั
ก็จะมาเข้าร่วมชุมนุมกันอย่างคับค่ง โนราใหม่จากท่วสารทิศท่ต้องการครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ หรือแต่งพอก ก็จะ
ี
�
ี
เดินทางมาร่วมงาน นอกจากน้น ยังมีการแก้เหมย (แก้บน) การราคล้องหงส์ และราแทงเข้ ในงานน้อีกด้วย
�
ั
ู
ิ
(สมภาษณ์เกรียงเดช, 2560) และไม่เพียงเอกลกษณ์ในด้านการแสดงทโดดเด่นของโนราโรงคร การประดษฐ์
่
ี
ั
ั
ื
ื
เคร่องแต่งกายของโนรายังเป็นเอกลักษณ์งานฝีมือท่ได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นเช่นกัน โดยเคร่องแต่งกายของโนรา
ี
ประกอบด้วยสงสาคัญต่อไปน 1) เทรด 2) เครองลูกปัด 3) ปีกนกแอ่น 4) ซบทรวง หรือทับทรวง 5) ปีก
ั
ิ
้
ิ
่
่
�
ี
ื
(หรือที่ชาวบ้าน เรียกว่า หางหรือหางหงส์) 6) ผ้านุ่ง 7) เพลา หรือเหน็บเพลาหรือหนับเพลา 8) หน้าผ้า ลักษณะ
เดียวกับชายไหว ถ้าเป็นของโนราใหญ่ 9) ผ้าห้อย 10) ก�าไล ต้นแขนและปลายแขน 11) ก�าไล ก�าไลของโนรามักท�า
ด้วยทองเหลือง ท�าเป็น วงแหวน ใช้สวมมือ และเท้าข้างละหลาย ๆ วง 12) เล็บ 13) หน้าพราน เป็นหน้ากากส�าหรับ
ตัว “พราน” ซึ่ง เป็นตัวตลก 14) หน้าทาสี หน้าผู้หญิง มักทาสีขาว ดังแสดงในภาพที่ 1
พิธีกรรมและขั้นตอนของโนราโรงครูวัดท่าแค
ในลักษณะของการร�าโนราโรงครูเริ่มจากการท�าโรง โรงที่ถูกต้องจะต้องเป็นเรือนไม้ ภายในโรงโนราแบบ
ดั้งเดิม เป็นเรือนเครื่องผูกขนาด 9 x 11 ศอก มีเสา 6 เสา ไม่ยกพื้น ไม่ตอกตะปูในการก่อสร้าง หันหน้าไปทาง
ทิศเหนือหรือทิศใต้ หลังคาเป็นรูปหน้าจั่ว มุงจาก ครอบกระแซงหรือใบเตยไว้ตรงกลางจั่ว ด้านซ้ายหรือด้านขวาท�า
�
ั
ื
เป็นช้นสูงระดับสายตา เพ่อวางเคร่องบูชา เรียกว่า “ศาล”หรือ “พาไล” ด้านหลังของโรงพิธีทาเป็นเพิงพักของ
ื
คณะโนรา โนราโรงครูของวัดท่าแคมีแต่โบราณตั้งแต่สมัยรุ่นอาจารย์ของอาจารย์ ตั้งแต่โนราช่วย มาโนราปุ้น แต่ที่
ปรากฏชัดเจนและท�ากันต่อเนื่องทุกปี คือ ในยุคของโนราแปลก โนราสมพงศ์ และโนราเกรียงเดช (รุ่นที่ 3) ซึ่งเป็น
ผู้สืบทอดเจ้าพิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแคในปัจจุบัน โนราโรงครูวัดท่าแค โดยปกติแล้วจะจัดข้นในวันพุธสัปดาห์
ึ
ที่ 2 เดือน 6 ของทุกปี โดยใช้วัดท่าแคเป็นสถานที่จัดงาน ใช้เวลาทั้งหมด 3 วัน มีก�าหนด ดังนี้
7