Page 6 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 6

RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019


                       Alfred Reginald, Radcliffee (อ้างถึงใน ทรงสิริ วิชารานนท์, 2559, น. 35) ที่มองว่าหน้าที่ทางสังคม
                                                       ื
                                                                                        �
                                                                                      ี
                เป็นส่วนสนับสนุนให้โครงสร้างสังคมคงอยู่อย่างต่อเน่อง เพราะสังคมมีกระบวนการทางสังคมท่ทาให้สังคมเกิด
                ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น บรรทัดฐาน ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณี
                                                                    ี
                       อีริค โรเธนเบอร์เลอร์ (อ้างถึงใน ชุตินิษฐ์ ปานคา และวนาวัลย์ ดาต้, 2560, น. 155) กล่าวว่า พิธีกรรมประกอบ
                                                       �
                                                                           ิ
                                    �
                                                                   ี
                                                                 ิ
                ไปด้วยรูปแบบของการกระทาและกระบวนความคิด พิธีกรรมจึงเป็นส่งท่ผู้คนปฏิบัต และแสดงพฤติกรรมน้นออกมา
                                                                                           ั
                                   ี
                                                                            ี
                          ี
                เช่นเดยวกับท่ตนคิด ขณะท่ข้อมูลจากประวัติศาสตร์และการสังเกตแสดงว่า รูปแบบทแสดงให้เห็นมีความหลากหลาย
                                                                            ่
                    ี
                        ่
                                                                    ่
                        ี
                     ่
                                                              ั
                                                                ู
                                                           �
                                                    ิ
                                              ิ
                                                                   ้
                              ่
                                                                 ่
                                                                ้
                                                                 ี
                                                                                     ้
                                                                                  ้
                                                                                  ั
                และไมคงทในบางสวนของกระบวนความคดและพธีกรรม สาหรบผทเขารวมพธกรรมบอยครงแลวกเกดความเข้าใจ
                                                                                        ิ
                                                                                       ็
                                                                         ี
                                                                              ่
                                                                        ิ
                                                                ี
                                        ึ
                                                              �
                                                                                           ื
                ในพิธีกรรมแตกต่างกันไปนั้น จะข้นอยู่กับชุดความรู้และการกระทาท่ผ่านประสบการณ์ของแต่ละคน และเม่อกล่าวถึง
                                                                                             ั
                                                                                           ั
                                         ี
                                                                              ั
                บทบาทของพธีกรรมแล้วพบว่า พิธกรรมไม่ได้หมายถึงการกระทาของปัจเจกบุคคลเท่าน้น หากแต่มความสมพนธ์กับ
                          ิ
                                                             �
                                                                                      ี
                               ึ
                โครงสร้างทางสังคมซ่งประกอบด้วยภาษาและระบบสัญลักษณ์ ประเพณีรวมถึงศีลธรรมในด้านต่าง ๆ ด้วย
                       กาญจนา แก้วเทพ สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ และทิพย์พธ กฤษสุนทร (2554, น. 28-41) ได้ให้มุมมอง
                                                                ู
                                                                                  ่
                                                                                  ื
                                                                   ้
                                                                   ั
                                                                                        ี
                                                              ี
                                                                         ่
                                                                         ื
                                       ื
                         ิ
                                         ิ
                    ั
                                          ี
                                                 ื
                                    ่
                                    ื
                สาหรบนักนเทศศาสตร์ในเรองส่อพธกรรม คอ การประกอบพิธกรรมนนเป็นเรองของการสอสาร มองค์ประกอบ
                 �
                       ื
                                                                                             �
                                             ่
                                             ี
                ของการส่อสารร่วมด้วยเสมอ ในขณะท สมสุข หินวิมาณ และคณะ (2553, อ้างถึงใน ชุตินิษฐ์ ปานคา และ
                วนาวัลย์ ดาตี้, 2560, น. 155-156) ได้ให้ข้อสังเกตด้านลักษณะร่วมและลักษณะที่แตกต่างระหว่างสื่อพิธีกรรมและ
                                                                             �
                                                                                  ั
                 ื
                                   ี
                ส่อสารมวลชนว่า ในขณะท่ส่อสารมวลชนเกิดข้นในโลกยุคสมัยใหม่ ส่อพิธีกรรมกลับมีกาเนิดต้งแต่โลกยุคเก่า และใน
                                                                 ื
                                                 ึ
                                    ื
                ขณะที่พิธีกรรมมีการปรับเปลี่ยน แต่ก็มีการคงรักษาไว้ซึ่งความเก่าแก่ เช่น การเปลี่ยนวัสดุในการประกอบพิธีกรรม
                จากวัสดุธรรมชาติเป็นวัสดุจ�าพวกพลาสติก เป็นต้น
                วิธีด�าเนินการวิจัย
                       งานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ท�าการศึกษาโดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
                ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
                                                          ั
                และใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและแบบมีส่วนร่วมในข้นตอนต่าง ๆ ของพิธีกรรมโนราโรงครูวัดท่าแค รวมถึง
                การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ต�ารา รายงาน เอกสารทางวิชาการต่าง ๆ
                       กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
                       กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการวิจัยครั้งนี้ มีจ�านวน 30 คน โดยผู้วิจัยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
                โดยตรงกับพิธีกรรม จ�านวน 2 คน 2) ผู้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งในพิธีกรรม จ�านวน 4 คน และ 3) ประชาชนที่มา
                                                                                �
                                                                                            ึ
                                           ั
                ชมพิธีกรรมเพียงอย่างเดียว โดยมีท้งตัวแทนกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ท่มีความสนใจ จานวน 24 คน ซ่งผู้วิจัย
                                                                    ี
                                                                                    ื
                                                                                           ู
                                                                                         ุ
                                                                                                ู
                                   ู
                                         ู
                                 ุ
                                                                     ู
                      ึ
                                                            ิ
                                                          ี
                                                             ี
                                           ่
                                           ี
                 �
                                                                                ิ
                                                                               ู
                ทาการศกษาเฉพาะกล่มผ้ให้ข้อมลทเข้าร่วมงานประเพณพธโนราโรงครเท่านน โดยผ้วจยเลอกกล่มผ้ให้ข้อมล
                                                                         ้
                                                                         ั
                                                                                 ั
                โดยใช้วิธีการแบบเจาะจง พิจารณาจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับโนราโรงครูเพื่อเก็บข้อมูลเชิงลึกกับผู้ที่มีบทบาทต่อพิธีกรรม
                หลังจากนั้นใช้วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบ Snowball Technique เพื่อท�าการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลท่านอื่นที่มาชม
                โนราโรงครู ทั้งนี้ เนื่องจากงานวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดังนั้น การบันทึก
                ข้อมูลภาคสนามจ�าเป็นต้องระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่นักวิจัยได้จากการสัมภาษณ์ จ�าเป็นต้องมีเครื่องมือช่วยในการ
                                                        5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11