Page 9 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 9
วัฒนธรรมหรือปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมยังเกิดขึ้นได้ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกี่ยวพันกับชุมชนนั้น
จากการที่วัฒนธรรมเดิมไร้ประสิทธิภาพและขาด สืบเนื่องจากธรรมชาติของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะ
คุณสมบัติที่จะปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมใน ชนชั้นกลางซึ่งต้องการค้นหาความเป็นของแท้หรือ
ขณะนั้น ดังนั้นการสร้างวัฒนธรรมเกิดขึ้นอยู่ตลอด มีความดั้งเดิม (Authenticity) ทางวัฒนธรรมที่รู้สึก
เวลา โดยที่การอ้างอิงถึงอดีตหรือประวัติศาสตร์ของ ว่าได้ขาดหายไปเนื่องจากต้องอาศัยอยู่แต่ในตัวเมือง
วัฒนธรรมเป็นการตีความใหม่ ต่อเติม หรือปรุงแต่ง โดยเฉพาะการโหยหาอดีต ความต้องการความพึ่งพา
ขึ้นใหม่เพื่อรับใช้บริบททางสังคมในปัจจุบัน (ดาริน การแสวงหาวัฒนธรรม เป็นต้น ดังนั้นนักท่องเที่ยว
อินทร์เหมือน, 2545, น. 198-202.) จึงอยากพบเห็นสิ่งที่เป็นภาพแทนจินตนาการของ
ดังนั้นการสร้างวัฒนธรรมจึงไม่ใช่เพียงการ อดีตและความจริงแท้ดั้งเดิมที่ขาดหายไป เช่น
รื้อฟื้นวัฒนธรรมหรือสร้างวัฒนธรรมที่ตอบสนอง ชนบท ประวัติศาสตร์ หรือชาติพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งยังคง
บริบททางสังคมโดยเฉพาะสังคมใหม่เท่านั้น แต่ยัง อยู่ในชุมชน แม้ว่าจะเป็นเพียงเศษเสี้ยวหนึ่งก็ตาม
รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมเพื่อการต่อรองหรือสร้าง และเมื่อมีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจต่อชุมชน
ความสัมพันธ์เชิงอ�านาจของสังคมผ่านวัฒนธรรม เพิ่มขึ้น การเกิดกระบวนการพัฒนาและจัดการ
ด้วยเช่นกัน ดังนั้นการสร้างวัฒนธรรมเพื่อตอบ ชุมชนซึ่งเน้นกระบวนการท�าการท่องเที่ยวให้เป็น
สนองการท่องเที่ยวจึงมิใช่ความพยายามเชื่อมโยง ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ผ่านการประดิษฐ์สร้าง
วัฒนธรรมเพื่อให้รับใช้นักท่องเที่ยวและคนใน วัฒนธรรมเพื่อตอบสนองต่อนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มใด
ท้องถิ่นเท่านั้น หากแต่ยังหมายถึง การสร้างความ กลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่การตอบสนองต่อคนในชุมชนโดยจึง
สัมพันธ์กับนักท่องเที่ยวในฐานะการมีตัวตนผ่าน เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
การสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่เจ้าของบ้าน นโยบายของรัฐบาลตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
(Host) มีต่อผู้มาเยือน ( Guest) อีกด้วย (บุณยสฤษฎ์ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
อเนกสุข, 2559) สนับสนุนในเรื่องของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้ง
ในส่วนของกิจกรรมประเพณีตลอดจนวัฒนธรรม
การมีส่วนร่วมของภาครัฐและชุมชนในการ ท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ และมีแนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมประเพณีแห่นางดานเพื่อการท่องเที่ยว ชุมชน คือรักษาอัตลักษณ์และสร้างคุณค่าทรัพยากร
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นที่นิยม เพื่อกระจายรายได้ให้กับคนในท้องถิ่น โดยให้
และเติบโตอย่างรวดเร็ว ประกอบกับอิทธิพลของ ความส�าคัญต่อการอนุรักษ์สืบสานประเพณี
โลกาภิวัตน์ มีผลให้นักท่องเที่ยวนานาชาติมีค่านิยม วัฒนธรรมควบคู่กับการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปคือ ต้องการเรียนรู้ความ ชุมชน และการสร้างเอกลักษณ์เพื่อสนับสนุน
ดั้งเดิม (Indigenousness) หรือความเป็นของแท้ การพัฒนาเมืองอย่างมีคุณค่าทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
(Authenticity) ของชุมชนท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น ประเทศ และสังคม (ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
ต่าง ๆ ทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วและก�าลังพัฒนาจึง และสังคมแห่งชาติ ส�านักนายกรัฐมนตรี, 2559)
ใช้การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นกลไกส�าคัญหนึ่ง ส�าหรับประเพณีแห่นางดานต้องยอมรับว่าการ
ในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีส่วนร่วมส่วนใหญ่มาจากฝ่ายของภาครัฐเริ่มตั้งแต่
72 วารสารกึ่งวิชาการ