Page 12 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 12

เชิงอรรถ

              1  เดือนยี่ คือ เดือนที่มีจ�านวนคู่ เดือนยี่ (2) เดือน 4 เดือน 6 เดือน 8 เดือน 10 เดือน 12 ในพระราชพิธี 12 เดือน ที่
               พระราชนิพนธ์โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ระบุถึงช่วงเวลาในการจัดพระราชพิธีตรียัมปวาย
               ไว้ว่า แต่เดิมแล้วจัดในช่วงเดือนอ้าย ต่อมาได้เปลี่ยนมาจัดเป็นเดือนยี่ ซึ่งตรงกับช่วงที่มีการเปลี่ยนราศีในช่วง

               ฤดูหนาวพอดีดังนั้นแล้ว แต่เดิมในยุคโบราณพิธีกรรมโล้ชิงช้า และ พิธีแห่นางกระดานได้จัดขึ้นในช่วงฤดูหนาวซึ่ง
               เป็นช่วงเวลาเดือน 12 ถึง เดือนยี่ ไม่ได้จัดขึ้นในช่วงเดือนห้า ที่เป็นช่วงหน้าร้อน ดังที่มีการจัดขึ้นมาในช่วงสงกรานต์
               ของเมืองนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน ซึ่งการจัดพิธีกรรมการแห่นางดานและจ�าลอง แสง สี เสียง ในพิธีโล้ชิงช้านั้น
               ถ้าหากยึดถือตามคติพิธีกรรมพราหมณ์ ที่มีบันทึกมาแต่โบราณแล้ว ถือเป็นการจัดงานที่มีช่วงเวลาการจัด

               คลาดเคลื่อนจากฤดูที่ประกอบพิธีกรรมจริง



              เอกสารอ้างอิง

              Koster, Emlyn H. (1996). Science Culture and Cultural Tourism. In M. Robinson, Nigel Evans &
                     P.Callaghan (Eds.). Tourism and Cultural Change: Tourism and Culture towardsthe 21 st
                     Century ( pp. 227-238). Sunderland: The Center for Travel and Tourism and Business
                     Education.

              จุลจอมเกล้าเจาอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2560). พระราชพิธีสิบสองเดือน. ไทยควอลิตี้บุ๊คส์: กรุงเทพฯ.
              ดาริน อินทร์เหมือน. (2545). แนวคิดเรื่องการประดิษฐ์ประเพณีและข้อวิจารณ์. สังคมวิทยามานุษยาวิทยา,
                     21 (1), 198-202.
              ดาหวัน สะเม๊าะ. (2557). พราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราช สมัยพระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมโศกราช-

                     พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 1802 -2352). (วิทยานิพนธ์ปริญญา
                     มหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, กรุงเทพ.
              นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย .(2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. มนุษยศาสตร์, 18 (1), 31 - 50.
              บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข. (2559). ยล เยี่ยม เยือน เหย้า: แนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม.

                     พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
              ประพิศ พงศ์มาศ. (2555). พระราชพิธีตรียัมปวาย-ตรีปวาย (พิธีโล้ชิงช้า). ศิลปากร, 55 (3), 102-109.
              ปรีชา นุ่นสุข. (สิงหาคม, 2531). พัฒนาการของศาสนาพราหมณ์ในนครศรีธรรมราช. ในวิทยาลัยครู
                     นครศรีธรรมราช, กรมศิลปากร, รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4. โรงแรม

                     ไทยโฮเต็ล, นครศรีธรรมราช.
              พรพรหม ชลารัตน์. (2544). อภิปรัชญาในความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์ในนครศรีธรรมราช.
                     (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  เชียงใหม่.
              ลดาวัลย์ ช่วยชาติ. (2 เมษายน 2561). ผู้อ�านวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�านักงานนครศรีธรรมราช

                     [การสื่อสารระหว่างบุคคล].


                                                                    ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561  75
   7   8   9   10   11   12   13   14