Page 5 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 5
ดังนั้นการสร้างวัฒนธรรม จึงไม่ใช่เพียงการรื้อฟื้นวัฒนธรรม
หรือสร้างวัฒนธรรมที่ตอบสนองบริบททางสังคมโดยเฉพาะสังคมใหม่
เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการสร้างวัฒนธรรมเพื่อการต่อรอง หรือ
สร้างความสัมพันธ์เชิงอ�านาจของสังคมผ่านวัฒนธรรมด้วยเช่นกัน
ความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ที่มีความส�าคัญ รูปลักษณ์ของนางกระดาน หรือ นางดาน เป็น
มีบทบาทอิทธิพลอยู่ในความความคิด วิถีชีวิต แผ่นไม้กระดานขนาดใหญ่ จ�าหลักรูปพระแม่ธรณี
ความเป็นอยู่มาโดยตลอด คือความเชื่อเกี่ยวกับ บีบมวยผมแผ่นหนึ่ง จ�าหลักรูปพระแม่คงคาถือ
เทพเจ้า (พรพรหม ชลารัตน์, 2544, น. 13-15) ใน ดอกบัวแผ่นหนึ่ง และ จ�าหลักรูปพระอาทิตย์
บรรดาเทพเจ้าทั้งปวงที่นครศรีธรรมราชรับคติมาจาก พระจันทร์ ขนาบฉัตร 5 ชั้น ซึ่งหมายถึงเขาพระสุเมรุ
ศาสนาพราหมณ์นั้น พระศิวะเป็นเทพที่รู้จักกัน แผ่นหนึ่ง ซึ่งความหมายของนางกระดาน นอกจาก
เผยแพร่หลายที่สุด แต่ชาวบ้านส่วนใหญ่จะรู้กันใน หมายถึง พระธรณี พระคงคา พระอาทิตย์ พระจันทร์
นามของพระอิศวร น้อยคนที่จะรู้จักในนามพระศิวะ ตามความหมายในแผ่นกระดานแล้ว ยังหมายถึง
พระอิศวรมีปรากฏในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เทพเทวดาทั้งหลาย ที่อาศัยบนผืนดิน แผ่นน�้า
มากมาย หนึ่งในนั้นคือ พิธีตรียัมพวาย ตลอดจนบนฟ้า ที่มาประชุมกันเพื่อต้อนรับ
พิธีตรียัมพวาย หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า พิธีโล้ พระอิศวรที่ทรงเสด็จมายังโลก ซึ่งตามบันทึกใน
ชิงช้า พราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราช เรียกพิธีกรรม พระราชพิธี 12 เดือน ได้ระบุถึงวันเชิญนางกระดาน
นี้แตกต่างจากที่อื่นว่า พิธีแห่นางดาน (พงศ์สินธุ์ ลงหลุมว่าได้เชิญลงหลุมวันขึ้น 9 ค�่า เดือนอ้าย และ
เสนพงศ์, การสื่อสารระหว่างบุคคล, 14 เมษายน เชิญขึ้นจากหลุมในวันขึ้น 12 ค�่าเดือนอ้าย โดยเรียง
2561) ที่มาของการเรียกชื่อ คือ ไม้กระดานที่อยู่ใน ล�าดับแผ่นนางกระดาน ให้พระอาทิตย์พระจันทร์อยู่
พิธีเพื่อท�าการบูชาเทพเจ้าและพิธีกรรมโล้ชิงช้าเป็น ในหลุมทางตะวันออก พระนางธรณีอยู่หลุมกลาง
สิ่งที่ถูกมองว่าโบราณไม่ทันสมัยจึงยกเลิกไปเมื่อ พระนางคงคาอยู่หลุมตะวันตก ทั้งสามแผ่นกระดาน
พ.ศ. 2477 (ประพิศ พงศ์มาศ, 2555, น. 102-109) นี้ จะตั้งอยู่ภายในเขตราชวัตรฉัตรธง มีเครื่องสักการะ
ดังนั้นชาวนครศรีธรรมราชในอดีตจึงใช้วิธีเลี่ยง สังเวยตั้งบูชาเบื้องหน้าทั้งสามวัน
จากการโล้ชิงช้ามาเป็นการแห่นางดานแทน พิธีกรรมดังกล่าวนอกจะมีพิธีที่เกี่ยวข้องกับ
แห่นางดาน จัดขึ้นเพื่อถวายสักการะแก่ ศาสนาพราหมณ์แล้ว ยังมีการแสดงออกถึงตัวตน
องค์พระอิศวรและขอพรอันประเสริฐจากพระเป็น ที่กลุ่มพราหมณ์นครศรีธรรมราชต้องการแสดงออก
เจ้าในศาสนาพราหมณ์ให้ทรงอวยพระพรแก่ ให้สังคมได้รับรู้เพื่อตอบสนองต่อทัศนคติและ
พระมหากษัตริย์ตลอดจนราษฎรในราชอาณาจักร กระท�าของสมาชิกสังคม ตัวตนที่กลุ่มพราหมณ์
ทุกแห่งหนให้อยู่ดีมีสุข ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล แสดงออกในด้านบทบาทหน้าที่ประกอบไปด้วยผู้
พืชพรรณธัญญาหารงอกงามสมบูรณ์ทั่วดินแดน ท�าหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างเทพเจ้ากับคน เนื่องจาก
ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561 67