Page 8 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 8
เช่น กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบนี้ ของพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อรับใช้บริบทของสังคม
เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวในระดับใดเท่านั้น หาก ในช่วงเวลาหนึ่งผ่านการอ้างอิงหรือการเชื่อมโยงว่า
แต่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมยังน�าไปสู่การ “สร้าง” พิธีกรรมที่เกิดขึ้นสืบทอดและต่อเนื่องกับอดีตหรือ
หรือ “รื้อฟื้น” วัฒนธรรมเพื่อตอบสนองนักท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ โดยนัยนี้การสร้างวัฒนธรรมหรือที่
ท่ามกลางกระแสทุนนิยมอีกด้วย เช่นการรื้อฟื้น ฮอบส์บอว์ม เรียกว่า การประดิษฐ์ประเพณี จึงอยู่
เครื่องแต่งกายและประเพณีท้องถิ่นซึ่งลดสถานะลง ในความหมายของการน�าเอาอดีตมารับใช้ปัจจุบัน
เหลือเพียงการเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวตลอด ในรูปของวัฒนธรรมและประเพณีที่คิดขึ้นใหม่
จนความพยายามสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม (บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข, 2559, น. 53 - 54)
(Cultural Identity) เพื่อน�าเสนอนักท่องเที่ยว ประเพณีแห่นางดานก็เช่นกันที่มีการอ้างอิง
อย่างไรก็ดี การสร้างหรือรื้อฟื้นวัฒนธรรมเพื่อ กับอดีตในเชิงประวัติศาสตร์ ซึ่งความต่อเนื่องที่
เป็นสินค้าในรูปการท่องเที่ยวซึ่งจัดอยู่ในกระบวนการ ประเพณีประดิษฐ์อ้างถึงนั้นเป็นสิ่งที่สมมติขึ้นอย่าง
ลดทอนความเป็นมนุษย์ หรือลดทอนความหมาย ขนานใหญ่ทั้งนี้เพราะประเพณีประดิษฐ์ เป็นสิ่งที่
ที่เกิดขึ้น ขณะเดียวกันยังมีสภาวะความย้อนแย้ง เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ใหม่ ๆ แต่อาจ
ควบคู่กันไปด้วยเห็นได้จากการที่เจ้าของวัฒนธรรม จะใช้รูปแบบอ้างอิงกับสถานการณ์เก่า หรืออาจจะ
ซึ่งถูกก�าหนดให้เป็นสินค้าทางการท่องเที่ยว แต่อาจ สร้างอดีตของมันขึ้นมาเอง ประเพณีมักจะถูกน�า
นับเป็นโอกาสการสร้างงานและการสร้างรายได้ให้ เสนอในลักษณะที่มีความคงที่ไม่แปรเปลี่ยน ซึ่ง
กับคนในท้องถิ่นบนพื้นฐานประโยชน์ในการแบ่งงาน เป็นลักษณะที่ตรงข้ามกับความเปลี่ยนแปลงและ
กันท�า รวมถึงการเป็นฐานผลิต อันเป็นการเปิดพื้นที่ นวัตกรรมของโลกสมัยใหม่ ที่เกิดอย่างสม�่าเสมอ
ทางการค้าทั้งในระดับท้องถิ่นภูมิภาคและระดับโลก ประเพณีแห่นางดานได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบ
เพื่อให้นักท่องเที่ยวทั้งภายในและระหว่างประเทศ โดยยังคงรูปแบบพิธีกรรมเดิมไว้ เพิ่มเติมความ
เยี่ยมชม (บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข, 2559 , น. 53) น่าสนใจด้วยการน�าเอาแสงสีเสียงเพื่อให้เกิด
ส�าหรับปัจจัยในการริเริ่มประเพณีแห่นางดาน ความประทับใจและให้เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว
ค�าตอบที่ชัดเจนคือ เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงวัฒนธรรม มากขึ้นและปรับเปลี่ยนการจัดประเพณีในช่วง
ไม่เพียงแต่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจะกลายเป็น เดือนมกราคมกลายมาเป็นเดือนเมษายนรวมไปถึง
ผลผลิตของกระบวนการท�าวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า การจัดกิจกรรมเพิ่มเติมที่ไม่เหมือนอดีตที่ผ่านมา
เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวพันถึงการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม สุจิตต์ วงษ์เทศ เรียกว่าเป็นการขายของปลอม มากกว่า
เพื่อตอบสนองการท่องเที่ยวอีกด้วย งานของอีรีก ขายอดีต ดังนั้นการน�าเสนอความเก่าแก่ของประเพณี
ฮอบส์บอว์มและเทอเรนซ์ เรนเจอร์ ที่ชื่อว่า The ทั้งที่ในความจริงเพิ่งเกิดขึ้นจึงกลายเป็นการปลูกฝัง
invention of Tradition (การประดิษฐ์ประเพณี) ได้ ค่านิยมทางสุนทรียะ ในการจัดการแสดงที่ถูกท�าให้
แสดงให้เห็นว่าการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมเป็นการ เชื่อว่าเก่าแก่เพื่อรับใช้การท่องเที่ยวผ่านการสร้าง
ก�าหนดภาคปฎิบัติทางวัฒนธรรม เช่น การสร้าง วัฒนธรรมนั่นเองไม่เพียงแต่การสร้างวัฒนธรรมขึ้น
พิธีกรรมหรือสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ท�าให้สังคม มาโดยการการเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์หรืออดีต
ยอมรับพร้อมกับสอดแทรกค่านิยมหรือบรรทัดฐาน ของสังคมเท่านั้น ฮอบส์บอว์ม ชี้ให้เห็นการสร้าง
ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561 71