Page 11 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 11
เชิงวัฒนธรรมจึงเป็นผลิตภัณฑ์ในการสร้างรายได้
ให้กับประเทศ
นอกจากภาครัฐและรัฐบาลท้องถิ่นที่จะมีส่วน
ร่วมแล้ว การให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม โดย
เปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถิ่น ได้มีการปรึกษาหารือ
ในด้านการท่องเที่ยวอย่าสม�่าเสมอให้การด�าเนิน
งานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งร่วมแก้ไข
ปัญหาและลดข้อขัดแย้งในผลประโยชน์ นอกจาก
จ�าลองเสาชิงช้าบริเวณสวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช จะสร้างผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ชุมชนและสิ่ง
และเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการแสดง แวดล้อมโดยรวมเท่านั้น แต่ยังช่วยยกระดับ
แสง สี เสียง สื่อผสม อลังการนางดาน ต�านานเมือง คุณภาพและประสบการณ์การท่องเที่ยวของท้อง
นครฯ ณ สวนศรีธรรมาโศกราช ซึ่งได้รับความสนใจ ถิ่นในทุกระดับ การมีส่วนร่วมของชุมชนในประเพณี
จากนักท่องเที่ยวจ�านวนมากรวมไปถึงชุมชนได้น�า แห่นางดานมีปรากฏบางส่วน เช่น 1. ด้านเศรษฐกิจ
เอาสินค้ามาวางจ�าหน่ายสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน การท่องเที่ยวได้กระตุ้นให้ชุมชนเกิดการสร้างงาน
อีกด้วย จากสถิติ พบว่ารายได้จากการท่องเที่ยว คือชุมชนได้น�าเอาผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมชุมชน
ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในพ.ศ. 2559 เป็น และการออกร้านอาหารพื้นถิ่นที่มีชื่อเสียงของ
จ�านวน 14,465.2 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2557 ชุมชน ท�าให้มีการกระจายรายได้เกิดกับคนใน
จ�านวน 11,876.7 ล้านบาท รวมถึงจ�านวนนักท่องเที่ยว ชุมชนส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจชุมชนพัฒนา 2. ด้าน
ในพ.ศ. 2557 ชาวไทย 2,272,130 คน และชาว สังคม- วัฒนธรรม ภาคชุมชน กลุ่มชมรมรักบ้านเกิด
ต่างประเทศ 41,559 คน ซึ่งในพ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นเป็น เข้าไปมีส่วนร่วมและรับรู้ในการฟื้นฟูประเพณีแห่
จ�านวน ชาวไทย 2,566,054 คน และชาวต่างประเทศ นางดาน เพื่อจะด�ารงความเป็นเอกลักษณ์ของ
45,787 คนคิดเป็น 7.07 % ของภาคใต้มากเป็น ประเพณีไว้ ให้คนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจ
อันดับ 5 ของภาคใต้ (ส�านักงานสถิติจังหวัด อาจกล่าวได้ว่า การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
นครศรีธรรมราช, 2560) ซึ่งจากการสนับสนุนของ ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ช่วยให้เกิด
รัฐบาลท้องถิ่น (Local government support) ก็มี ความสามัคคีและความเข้าใจระหว่างกันของคนใน
ความส�าคัญมากต่อการพัฒนาและส่งเสริม ชุมชน ขณะเดียวกันการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
การท่องเที่ยว ทั้งนี้การพัฒนาจะประสบความส�าเร็จ ไม่เพียงแต่จะช่วยเพิ่มศักยภาพชุมชนในการจัดการ
ได้หน่วยงานต้องให้ความช่วยเหลืออุตสาหกรรม ตนเองเท่านั้น หากแต่ยังส่งผลต่อการรื้อฟื้น
การท่องเที่ยวของท้องถิ่น ในทางตรงกันข้าม หรืออนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมให้ยังคงอยู่
การท่องเที่ยวจะประสบความส�าเร็จน้อยถ้าหาก ภายในชุมชน เห็นได้จากการรื้อฟื้นประเพณีชุมชน
ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานดังกล่าว การ โดยพัฒนาสู่การเป็นกิจกรรมที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยว
สนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนา มาเที่ยวชม เป็นต้น (บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข, 2559,
การท่องเที่ยวมีหลากหลายท�าให้การท่องเที่ยว น. 187)
74 วารสารกึ่งวิชาการ