Page 14 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 14

ขณะนั้น) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์   ความภาคภูมิใจการแสดงอัตลักษณ์บ้านเมืองใน
              (อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช    โลกาภิวัตน์เหมือนกันเกือบทั่วโลก แต่ความเป็น
              ในขณะนั้น) วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช      ท้องถิ่นจะได้รับการใส่ใจมากขึ้น ถ้าเรารักษา
              และภาคชุมชนคือ กลุ่มชมรมรักบ้านเกิด (สุธรรม   อัตลักษณ์ของเราได้  เพราะนครฯ  เป็นเมือง

              ชยันต์เกียรติ โกแอ๊ด) ร่วมมือกันฟื้นฟูประเพณี   ประวัติศาสตร์ มีอัตลักษณ์แตกต่างจังหวัดอื่น
              แห่นางดานขึ้น เนื่องจากเป็นประเพณีที่มีความเก่าแก่  คนนครฯ  จึงรู้สึกภาคภูมิใจในความเป็นเมือง
              ที่ควรศึกษาและมีความส�าคัญทางด้านประวัติศาสตร์   ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เมื่อหยิบเรื่องนี้
              ทางภาครัฐผนวกประเพณีแห่นางดานซึ่งกระท�ากัน   ขึ้นมาพูด จึงมีความพอใจรับฟัง และขานรับเป็น

              ในช่วงเดือนยี่  มาเป็นประเพณีส่วนหนึ่งของงาน  อย่างดี”  (ศิริญญา มงคลวัจน์, 2549)
                         1
              เทศกาลมหาสงกรานต์เมืองนคร เพื่อให้งานมีความ      รวมไปถึงภาคชุมชนกลุ่มชมรมรักบ้านเกิด
              ยิ่งใหญ่และน่าสนใจมากขึ้น รวมไปถึงปัจจุบันคน  (สุธรรม ชยันต์เกียรติ โกแอ๊ด) ที่กล่าวถึงประเพณี
              ที่นับถือศาสนาพราหมณ์ในนครศรีธรรมราชไม่ค่อยมี   แห่นางดาน ว่า “การจัดงานมหาสงกรานต์ ของ

              ด้วยเหตุนี้จึงมีการรื้อฟื้น ดังที่ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์   เมืองนครศรีธรรมราช เพิ่งเริ่มมาไม่กี่ปีที่ผ่านมา
              กล่าวว่า                                     โดยทางการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�านักงาน
                  “ประเพณีดังกล่าวจึงย้อนกลับให้เห็นว่า    นครศรีธรรมราชและเทศบาลนครนครศรีธรรมราช
              เมื่อก่อนนครฯ ที่นับถือศาสนาพราหมณ์ท�าอะไร   ได้ระดมผู้รู้หลายท่าน เข้ามาช่วยคิดรูปแบบงาน

              กันบ้าง และก็มีพิธีศักดิ์สิทธิ์ที่เห็นว่าเป็นประเพณี  ใหม่ ให้มีรูปแบบที่แตกต่างจากสงกรานต์เชียงใหม่
              ส�าคัญ แห่นางดานปกติจัดขึ้นในเดือนยี่ เป็นพิธีที่  ซึ่งกลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไปแล้ว ถ้าวัน
              กระท�าระหว่างกษัตริย์และพราหมณ์เมื่อก่อน นครฯ   สงกรานต์ต้องเชียงใหม่ กรุงเทพฯ ดังนั้นงาน
              มีเจ้าเมืองปกครองตนเอง แต่ในยุคนี้ขึ้นกับกรุงเทพฯ   มหาสงกรานต์ของนครศรีธรรมราชจึงได้ระดม

              ไม่มีเจ้าเมืองจึงเลิกจัด แต่เปลี่ยนมาจัดเดือนอ้าย   กิจกรรมใหญ่ๆของเมืองที่พอรวมเข้ามาอยู่กันได้
              เพราะเนื้อหาสาระมีการเล่นน�้า จึงหากน�ามาใส่   ในรูปแบบงานมหาสงกรานต์แห่นางดานเมือง
              เป็นกิจกรรมหนึ่งในวันสงกรานต์ น่าจะเข้ากันได้ ”   นครศรีธรรมราช ซึ่งน�าเอากิจกรรม อย่างเช่น
              (ศิริญญา มงคลวัจน์, 2549)                    พิธีเชิญน�้าศักดิ์สิทธิ์ จาก 6 แหล่ง มาท�าเป็นน�้า

                  และยังแสดงความรู้สึกภูมิใจในพิธีแห่นางดาน  พุทธมนต์ (แต่เดิมพิธีนี้คือ การถือน�้าพิพัฒน์สัตยา
              ที่มีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยว่า “ประเพณีนี้   ของเหล่าข้าราชบริพารทั้งหลาย) พิธีพุทธาภิเษกน�้า
              ถือเป็นแห่งเดียวในประเทศไทย เปรียบเสมือนคน   ศักดิ์สิทธิ์ พิธีบวงสรวงพระเจ้าศรีธรรมโศกราช พิธี
              ที่มีพระเครื่องส�าคัญอยู่องค์หนึ่ง ซึ่งหายากมาก   สรงน�้าพระพุทธสิหิงค์ด้วยน�้าศักดิ์สิทธิ์ กิจกรรมที่

              คนที่จะมีติดคอ หรือบูชาที่บ้านในฐานะสถาบัน   กล่าวมานั้นเกี่ยวข้องกับการผลัดเปลี่ยนเทพเทวดา
              การศึกษาซึ่งท�าให้ท้องถิ่นเกิดความภาคภูมิใจ รัก   เปลี่ยนราศี เปลี่ยนฤดูกาล มีน�้าเข้ามาเกี่ยวข้อง
              และผูกพันจังหวัดที่อาศัยอยู่ เมื่อผูกพันจะท�าอะไร  มารวมในเทศกาลมหาสงกรานต์ ซึ่งดูจะพอไปได้
              ก็ง่ายขึ้น เช่น รวมกันพัฒนาบ้านเมือง ถ้ามีใจ  ในแง่การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวนั่นเอง” (สุธรรม

              ผูกพัน พูดไม่กี่ประโยคก็ตื่นตัวได้ จึงหวังให้เกิด  ชยันต์เกียรติ, 2555, น. 29-32)


                                                                    ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561  69
   9   10   11   12   13   14