Page 4 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 4

รายได้ได้ ทุนวัฒนธรรมจึงเป็นปัจจัยการผลิตที่  รวมถึงการมีส่วนร่วมของภาครัฐและชุมชนในการ
           ส�าคัญด้านการท่องเที่ยว จากแนวคิดข้างต้นมอง   ส่งเสริมประเพณีแห่นางดานเพื่อการท่องเที่ยว
           ว่าการจัดประเพณีแห่นางดานได้น�าเอาทุนทาง
           วัฒนธรรมมาสร้างเป็นจุดขาย เพื่อตอบโจทย์การ    ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล

           ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม                            ในการศึกษาในครั้งนี้จะใช้เอกสารเป็นแหล่ง
               ประเพณีแห่นางดาน คือการอัญเชิญเทพ         ข้อมูลหลัก ประกอบกับการใช้ข้อมูลภาคสนามจาก
           ชั้นรองสามองค์มารอรับเสด็จพระอิศวรที่จะเสด็จ  การสัมภาษณ์และการสังเกตตามความเหมาะสม
           ลงมาเยี่ยมมนุษยโลกในช่วงวันขึ้น 7 ค�่า ถึงวัน   ในการศึกษาจึงจ�าแนกแหล่งข้อมูลออกเป็น 2

           แรมค�่าเดือนยี่ เทพชั้นรองสามองค์ที่พราหมณ์   ลักษณะดังนี้
           ในนครศรีธรรมราชอัญเชิญมารับเสด็จนี้  คือ          1.1 ข้อมูลเอกสาร เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษา
           พระอาทิตย์คู่กับพระจันทร์ 1 แผ่น  พระธรณี 1 แผ่น    ค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ทั้งเอกสารชั้นต้นและ
           และพระคงคา 1 แผ่น เทพดังกล่าวนี้จารึกหรือ     เอกสารชั้นรองประเภทหนังสือตารางานวิจัย

           แกะสลักลงบนแผ่นไม้ขนาดกว้างหนึ่งศอก สูง       วิทยานิพนธ์บทความวิชาการวารสารท้องถิ่นรวมถึง
           สี่ศอก ชาวนครเรียกไม้แกะสลักดังกล่าวนี้ว่า    ข้อมูลเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ
           “นางกระดาน” เมื่อถึงวันพิธีการ พราหมณ์ก็      เอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
           อัญเชิญนางกระดานทั้งสามนี้มายังเสาชิงช้าในหอ      1.2 ข้อมูลภาคสนาม เป็นข้อมูลจากการ

           พระอิศวร เพื่อรอรับพระอิศวรที่จะเสด็จเยี่ยมโลก  สัมภาษณ์บุคลตามสถานที่ต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
           มาที่เสาชิงช้าดังกล่าว นับตั้งแต่ครั้งมีชุมชนพราหมณ์  กับงานศึกษา
           เกิดขึ้นในนครศรีธรรมราช จนเมื่อพราหมณ์ได้
           เคลื่อนย้ายขึ้นไปอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา จึงปฏิบัติ   ปัจจัยการริ่เริ่มประเพณีแห่นางดานเมือง

           สืบต่อมาถึงยุครัตนโกสินทร์ กระทั่งได้ยกเลิกไป   นครศรีธรรมราช
           ในรัชกาลที่ 7 และเมื่อไม่นานมานี้ทางจังหวัด       จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึง
           นครศรีธรรมราชได้มีการริเริ่มประเพณีแห่นางดาน  นครศรีธรรมราชเป็นเมืองที่มีวิวัฒนาการความ
           กลับมาใหม่ ท�าให้ผู้เขียนสนใจศึกษาเกี่ยวกับปัจจัย  เป็นมายาวนาน ท�าให้บริเวณนี้ได้รับอารยธรรม

           ในการริเริ่มประเพณีแห่นางดาน นครศรีธรรมราช    ของชนชาติอื่น ๆ เข้ามามากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                                                         อารยธรรมจากประเทศอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพลต่อ
                                                         วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อของชาว
                                                         นครศรีธรรมราช จึงเกิดการยอมรับผสมผสาน

                                                         ปรับเปลี่ยนความเชื่อและวิถีชีวิตดั้งเดิมที่มีอยู่กับ
                                                         ความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ของอินเดียเข้า
                                                         ด้วยกันท�าให้ความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ใน
                                                         นครศรีธรรมราชแตกต่างจากความเชื่อทางศาสนา
                    ที่มา : https://sites.google.com/    พราหมณ์ในที่อื่น
            site/77canghwadinthailand/phakh-ti/-nkhrsrithrrmrach

           66    วารสารกึ่งวิชาการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9