Page 7 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 7
ที่ส�าคัญที่ท�าให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังประเทศ
ต่าง ๆ ทั่วโลกในขณะเดียวกัน วัฒนธรรมของแต่ละ
ประเทศจะมีการเคลื่อนไหวไปยังประเทศอื่นโดย
ผ่านการประชุมหรือสัมมนา การจัดงานแสดงสินค้า
อาหาร ดนตรี ภาพยนตร์ และสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ซึ่งยิ่งท�าให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังพื้นที่ที่มี
วัฒนธรรมที่แตกต่างจากตนเพื่อเรียนรู้ เข้าใจ และ
เห็นคุณค่าสถาปัตยกรรม ศิลปะ ประเพณี เทศกาล
วิถีชีวิตของคนในพื้นที่อื่นซึ่งเรียกอีกนัยหนึ่งว่า
“การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม”
พราหมณ์ในประเพณีแห่นางดาน ค�าว่า “การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” ก�าหนดขึ้นมา
ซึ่งสอดคล้องกับกระแสโลกาภิวัตน์ที่คนใน อย่างชัดเจนในการประชุมสภาการโบราณสถานระหว่าง
สังคมหลายกลุ่มเริ่มหันกลับมาให้ความส�าคัญกับ ประเทศ (International Council on Monuments and
ค�าว่า “เก่า” ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่อง Sites: ICOMOS) ที่เมืองออกซ์ฟอร์ดใน พ.ศ. 2512
กับอดีต อดีตในเชิงประวัติศาสตร์ที่มีความยาวนาน หรือ ค.ศ. 1969 (Moulin: 1989, cited in Koster,
เนื่องจากโลกาภิวัตน์ท�าให้เข้าถึงวัฒนธรรมจากที่ 1996: 231) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมานักวิชาการได้ให้
อื่นได้ง่ายขึ้น ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไว้อย่าง
ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา โลกเผชิญปัญหา หลากหลาย อย่างไรก็ตามความหมายของการท่องเที่ยว
ด้านการเมือง เศรษฐกิจและภัยพิบัติทางธรรมชาติ เชิงวัฒนธรรมต่าง ๆ ล้วนมีจุดมุ่งเน้นในท�านองเดียวกัน
เป็นอย่างมาก แต่ความเป็นโลกาภิวัตน์ยังคง คือ “เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวได้รับ
ส่งเสริมให้มนุษย์เดินทางท่องเที่ยวทั่วโลกในอัตรา แรงดลใจหรือสิ่งกระตุ้นให้เดินทางไปยังจุดหมาย
การเติบโตที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งองค์กรการ ปลายทางเพื่อสังเกตเรียนรู้ มีประสบการณ์ร่วม
ท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ได้ยืนยันว่าการท่องเที่ยว และตระหนักคุณค่าวัฒนธรรมของชุมชนในจุดหมาย
ยังคงเติบโตต่อไปและคาดการณ์ว่า ใน พ.ศ. 2563 ปลายทางนั้น ซึ่งครอบคลุมถึงงานสร้างสรรค์ ประเพณี
หรือ ค.ศ. 2020 จะมีการเดินทางทั่วโลกจ�านวน ขนบธรรมเนียม และกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนจุดหมาย
1.56 พันล้านครั้ง การเดินทางจ�านวนมหาศาลนี้ ปลายทาง ทั้งนี้นักท่องเที่ยวและคนในชุมชนต้อง
ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมข้ามชาติทั้งใน เคารพ เรียนรู้ และเข้าใจวัฒนธรรมของกันและกัน
ระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และโลก และวัฒนธรรมจะ เพื่อให้เกิดมิตรภาพและสันติภาพระหว่างชุมชนอย่าง
เป็นสิ่งดึงดูดใจที่ส�าคัญที่ท�าให้นักท่องเที่ยวเดินทาง ยั่งยืน (นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย, 2554, น. 31-50)
ไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจึงอยู่ในฐานะ
การเดินทางจ�านวนมหาศาลนี้ก่อให้เกิดการ การเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมที่ไม่เพียงแต่น�าไปสู่
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมข้ามชาติทั้งในระดับท้องถิ่น การสร้างมาตรฐานทางรสนิยมและมาตรฐาน
ภูมิภาค และโลก และวัฒนธรรมจะเป็นสิ่งดึงดูดใจ ประสบการณ์จากการร่วมกิจกรรมการท่องเที่ยว
70 วารสารกึ่งวิชาการ