Page 3 - ประเพณีแห่นางดาน
P. 3

บทความวิชาการ        วารสารรูสมิแล













                                                                 แห่นางดาน :




              ว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองนครศรีธรรมราช



                                                                                       พรรณวดี พลสิทธิ์
                  ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และประเพณี   เป็นจ�านวนมาก ในฐานะผู้นิยมบริโภควัฒนธรรม

              ได้กลายเป็นทุนที่ส�าคัญของการท่องเที่ยว นับตั้งแต่  อันแตกต่าง ๆ จากตนเอง ในขณะที่ระยะเวลาใน
              ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา อันเป็น  การพักผ่อนหย่อนใจและการหาได้รับประสบการณ์
              ผลเนื่องมาจากการก�าหนดสภาพภูมิรัฐศาสตร์ของ   ที่แปลกใหม่มีจ�ากัด ดังที่สมิธกับโรบินสัน (Smith And

              โลกยุคใหม่ ของลัทธิอาณานิคม กระทั่งตามมาด้วย  Robinson) เรียกว่า นักท่องเที่ยวกระหายวัฒนธรรม
              กระแสโลกาภิวัตน์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่ง  (Culture-Hungry Tourist) ขณะที่ผู้ประกอบการลงทุน
              ก่อให้เกิดกระแสภูมิภาคนิยมของแต่ละประเทศที่  ด้านการท่องเที่ยวเองก็เห็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
              พยายามสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนขึ้น     เนื่องจากไม่จ�าเป็นต้องลงทุนสร้างสิ่งดึงดูดใจทาง
              มาเพื่อสถาปนาความเป็นชาตินิยมให้กับประเทศ    การท่องเที่ยวอื่นใดมากไปกว่าการเสริมแต่งทุนที่มีอยู่

              ของตน อีกทั้งยังเป็นการโต้ตอบอิทธิพลทางวัฒนธรรม  เท่านั้น สอดคล้องกับเหตุผลของหน่วยงานรัฐใน
              ของประเทศเจ้าอาณานิคมหรือประเทศที่มีพลังทาง  ประเทศก�าลังพัฒนาที่เห็นประโยชน์จาการใช้ทุน
              วัฒนธรรมเหนือกว่า ซึ่งในเวลาต่อมาจึงได้มีการน�า  ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และประเพณีใน

              เอาทุนทางประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และ    ประเทศของตน เป็นเงื่อนไขของการสร้างรายได้
              ประเพณีในฐานะอัตลักษณ์ของประเทศให้กลาย       เพื่อการพัฒนาชุมนและประเทศเช่นเดียวกัน
              เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการท่องเที่ยวพร้อมทั้งใช้  (บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข, 2559, น. 15-16)
              อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเองเป็นประหนึ่ง         การน�าเอาทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างเป็น
              ตราสินค้าเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว          จุดขายในการท่องเที่ยว ดังที่ มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด

                  กล่าวได้ว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจึง  (2555, น. 60) กล่าวว่า การท่องเที่ยวของไทยนับว่า
              นับเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมที่ถูกสร้างสีสันหรือ  พึ่งพาการขาย “วิถีไทย” อย่างยิ่ง วิถีไทยที่ว่าก็คือ
              สร้างความตื่นตาตื่นใจมากกว่าปกติ เพื่ออ�านวย  วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย

              ความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวชนชั้นกลางที่เพิ่มขึ้น  วัฒนธรรมนับเป็นทุนอย่างหนึ่งที่น�ามาต่อยอดสร้าง


                                                                    ปที่ 39 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561  65
   1   2   3   4   5   6   7   8