Page 8 - คู่มือบริหารจัดการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 8

บทที่ 1
                                                             บทน า


                       หลักการและเหตุผล

                              ปัจจุบันมหาวิทยาลัยทั่วโลกมีการพัฒนาคลังปัญญาสถาบัน หรือ Institutional Repository

                       อย่างแพร่หลาย โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์และเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้าง
                                                                                               ิ
                       ขึ้นโดยสมาชิกในสถาบันนั้น ๆ รวบรวมและจัดเก็บสารสนเทศที่มีคุณค่าให้อยู่ในรูปแบบอเล็กทรอนิกส์
                                            ้
                       ใช้เครื่องมือที่เอื้อต่อการเขาถึง ค้นคืน และเผยแพร่งานทางปัญญาของสถาบันให้เข้าถึงโดยเสรี
                              คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือ PSU Knowledge Bank ถือเป็นแหล่ง

                       รวบรวมองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด้วยแนวคิดที่ต้องการให้เป็นระบบที่คล่องตัวใน
                       การใช้ ทันสมัย มีประสิทธิภาพทั้งระบบจัดเก็บ  สืบค้นและการแสดงผลองค์ความรู้  ก่อให้เกิดความ
                       ภูมิใจ  และมีชุมชนความร่วมมือระหว่างนักศึกษา  อาจารย์  และบุคลากรที่ร่วมกันสร้างคลังปัญญา

                       มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขึ้น  มหาวิทยาลัยฯ จึงมีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการคลังปัญญา
                       มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตามค าสั่งที่ 1854/2551 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 โดยมีหน้าที่
                       ขับเคลื่อนการด าเนินงานของโครงการให้เป็นรูปธรรม  ในระยะการด าเนินการปีแรก คณะกรรมการ
                       โครงการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ก าหนดแนวคิดเบื้องต้นของระบบ  จากนั้น
                       มอบหมายให้ส านักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มี

                       ประสบการณ์ด้านการจัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศ จัดตั้งคณะกรรมการด าเนินงานเมื่อวันที่
                       28 มกราคม 2552 ตามค าสั่งส านักฯ ที่ 3/2552 ประกอบด้วยบุคลากรของส านักทรัพยากรการ
                       เรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร โดยมีพัฒนาการ ดังนี้

                              เดือนพฤศจิกายน 2552 คณะกรรมการได้เริ่มด าเนินงาน  โดยท าหน้าที่เลือกและทดสอบ
                       ระบบที่จะน ามาใช้  และได้คัดเลือกโปรแกรมดีสเปซ (DSpace) เป็นซอฟต์แวร์ระบบเปิดเผยรหัส
                       หรือ Open Source ที่น ามาใช้ในการจัดการคลังเอกสารอเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีความยืดหยุ่น สามารถ
                                                                       ิ
                       จัดเก็บเอกสารและเผยแพร่สารสนเทศดิจิทัลขององค์กร รวมทั้งการสงวนรักษาเอกสารในระยะยาว

                                                                                    ั
                       ช่วยให้ใช้งานร่วมกัน แบ่งปันเนื้อหาได้ทุกประเภท ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งพฒนาโดยห้องสมุดสถาบัน
                                                          ิ
                       เทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ และบริษัทฮวเลตต์-แพคการ์ด สะดวกต่อการปรับแต่งชุดโปรแกรมให้
                       สอดคล้องกับความต้องการพัฒนาคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้
                              เดือนมิถุนายน 2553 ได้ด าเนินการในระยะที่ 2 คณะกรรมการด าเนินงานได้ติดตั้งระบบให้

                       สมบูรณ์  รวมทั้งน าเข้าความรู้ที่เป็นวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยเป็นการน าร่องโครงการคลังปัญญา
                       มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  และจัดให้มีการอบรมวิธีการใช้งานแก่หน่วยงานต่าง ๆ ภายใน
                       มหาวิทยาลัยเพื่อขยายผลต่อไป
                              เนื่องจากปัจจุบันข้อมูลในคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีรูปแบบการจัดเก็บแบ่ง

                       ตามคณะ ภาควิชา และประเภทผลงาน ทั้งนี้ประเภทผลงาน ได้แก่ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงาน
                       การวิจัย และบทความวิจัย มีจ านวนเพมมากขึ้น  อกทั้งมีนโยบายการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลงานวิจัย
                                                                 ี
                                                       ิ่
                       ของส านักวิจัยและพฒนา เพอจัดเก็บและเผยแพร่ผลงานสู่คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                                        ั
                                               ื่
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13