Page 7 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดนครครีธรรมราช ลายดอกพิกุล
P. 7

ความสําคัญทางวัฒนธรรมพื้นถิ่นผายกเมืองนคร
































                        “เมืองนครเปนเมืองพระ มั่นอยูในสัจจะ ศีลธรรม กอปรกรรมดี มีมานะพากเพียร
               ไมเบียดเบียนทําอันตรายผูใด” เปนคําขวัญของเมืองนครในอดีตที่กลาวถึงเมืองนครที่เปนเมืองพระ

               ซึ่งเมืองนครมีวัดมากมาย พระบรมธาตุเปนสถานที่สําคัญและศักดิ์สิทธิ์ การแหผาขึ้นธาตุ ซึ่งเปนประเพณี

               เกาแกที่ปฏิบัติสืบทอดตอมาจากพระเจาศรีธรรมาโศกราชจันทรภานุ  ตั้งแตเมื่อครั้งที่บูรณะพระบรมธาตุแหงนี้

               ในป พ.ศ. ๑๗๐๐ จนกลายเปนประเพณีที่สืบทอดกันมา ในอดีตนครศรีธรรมราช (เมืองนครศรีธรรมราช
               มีหัวเมืองนอยใหญ ที่ขึ้นตรงถึง ๑๒ หัวเมือง เรียกวา เมือง ๑๒ นักษัตร) เคยเปนเมืองทาที่ใหญที่สุด

               ในภาคใต มีสินคามาจําหนายมากมาย โดยเฉพาะผาดวยเหตุผลทางการคาเมืองนครศรีธรรมราช นาจะไดรับ

               วัฒนธรรมการทอผากอนหัวเมืองอื่น ๆ ในภาคใต ฝมือการทอผาของชาวเมืองนครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงมานาน

               เปนที่รูจักกันดีทั่วภาคใตและในกรุงเทพมหานคร คนทั่วไปเรียกวา“ผายกเมืองนคร” สําหรับผายกทองนั้น
               จะใชเฉพาะเจาเมืองนครศรีธรรมราชและขาราชการชั้นผูใหญในรั้วในวัง  หรือเจาพระยานครสั่งเขามาถวาย

               เจานายในกรุงเทพมหานครเทานั้น สวนผายกธรรมดาที่ใชกันทั่วไปมักจะใชในพิธีมงคลตาง ๆ เนื้อผา

               และลวดลายการยกดอกของผายกเมืองนครศรีธรรมราช มีความสวยงามเปนแบบฉบับของชางฝมือชั้นสูงแหงหนึ่ง
               ในประเทศไทย ดังปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผนไดกลาวถึงผายกเมืองนครในตอนที่ขุนชาง

               นุงผาแตงตัวไปเปนเพื่อนเจาบาวใหพลายงาม (ขุนแผน) แตงงานกับนางพิมพิลาไลยวา






                           “คิดแลวอาบนํ้านุงผา                  ยกทองของพระยาละครให

                         หมสานปกทองเยื้องยองไป                 บาวไพรตามหลังสะพรั่งมา”
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12