Page 2 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดนครครีธรรมราช ลายดอกพิกุล
P. 2

ประวัติความเปนมา :


                        การทอผายกมีหลักฐานวา ชาวเมืองนครศรีธรรมราช  ไดแบบอยางมาจากแขกเมืองไทยบุรี

               กลาวคือ สมัยที่เมืองไทยบุรีเปนกบฏ เจาเมืองนครศรีธรรมราช คือ เจาพระยานคร (นอย) ไดยกกองทัพ
               ไปปราบปราม ขากลับไดกวาดตอนครอบครัวเชลยเขามายังเมืองนครศรีธรรมราชเปนจํานวนมาก

               ไดพวกชางมาไวหลายพวก เชน ชางหลอโลหะประสม ชางทอง ชางเงิน และชางทอผา สําหรับพวกชางทอผา

               ใหอยูบริเวณทางดานตะวันตกของตัวเมือง คือ ในตําบลมะมวงสองตน อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช
               และตําบลนาสาร อําเภอพระพรหม ในปจจุบันชางพวกนี้ไดถายทอดความรูแกชางพื้นเมืองที่มีอยูกอน

               จึงทําใหการทอผาในสมัยนั้นพัฒนาขึ้นกวาสมัยกอน ๆ มาก


                        ผายกเมืองนคร “ลายดอกพิกุล” เปนลวดลายที่เลียนแบบธรรมชาติ ซึ่งเปนดอกไม  คือ ดอกพิกุล

               เปนผาทอมือดวยกี่กระตุก “ผายกเมืองนคร” เปนชื่อเฉพาะ หมายถึง ผาทอพื้นเมืองของจังหวัดนครศรีธรรมราช
               ที่ทอสืบกันมาแตโบราณ ดวยการทอยกเพิ่มลวดลายดวยเสนพุงพิเศษ ( Supplementary Weft )

               ทําใหเกิดลายนูนบนผืนผา มีลายเชิงผาเปนกรวยเชิงชั้นเดียวหรือกรวยเชิงซอนกันหลายชั้นและกรวยเชิงขนาน

               กับริมผา โดยดัดแปลงลายอื่นมาเปนลายกรวยเชิง วิธีการทอจะคัดเสนยืนขึ้นลงเปนจังหวะที่แตกตางกัน

               ตามลวดลายที่ตองการแลวใชเสนพุงพิเศษเขาไป

























                        ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผาที่ทอกันมาแตโบราณ เปนลวดลายที่จดจําและไดรับการถายทอด

               จากบรรพบุรุษหรือพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน  ลวดลายเหลานี้ไดรับการถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง

               โดยการลอกเลียนแบบอยางไวทั้งลวดลาย และกรรมวิธีในการทอผาที่เกิดจากฝมือและภูมิปญญา
               ของชางทออยางแทจริง ลายที่นิยมทอผายกเมืองนคร คือ ลายจากธรรมชาติ สวนใหญเปนลายดอกไม

               โดยเฉพาะ “ลายดอกพิกุล” ซึ่งในสมัยกอนตนพิกุลเปนที่นิยมปลูกกันมากในบริเวณลานวัด เพราะเปน

               พุมไมใหญใหรมเงาและดอกมีกลิ่นหอมใชเปนยาไดดวย ดอกพิกุลจึงถูกนํามาใสในลวดลายของผายก
               เมืองนคร  เชน  ลายดอกพิกุล  ลายดอกพิกุลดอกลอย  ลายดอกพิกุลกานแยง  ลายดอกพิกุลเถื่อน

               ลายดอกพิกุลสลับลายลูกแกว
   1   2   3   4   5   6   7