Page 12 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดนครครีธรรมราช ลายดอกพิกุล
P. 12

การทอผา




                        ขั้นตอนในการทอผา
                        ๑. สืบเสนดายยืนเขากับแกนมวนดายยืน และรอยปลายดายแตละเสนเขาในตะกอแตละชุด

               และฟนหวีดึงปลายเสนดายยืนทั้งหมดมวนเขากับแกนมวนผาอีกดานหนึ่ง ปรับความตึงหยอนใหพอเหมาะ

               กรอดายเขากระสวยเพื่อใชเปนดายพุง
                         ๒. เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมูตะกอ เสนดายยืนชุดที่ ๑ จะถูกแยกออกและเกิดชองวาง

               สอดกระสวยดายพุงผานสลับตะกอชุดที่  ๑  ยกตะกอชุดที่  ๒  สอดกระสวยดายพุงกลับทําสลับกัน

               ไปเรื่อย ๆ
                        ๓. การกระทบฟนหวี (ฟม) เมื่อสอดกระสวยดายพุงกลับก็จะกระทบฟนหวี เพื่อใหดายพุง

               แนบติดกัน ไดเนื้อผาที่แนนหนา

                        ๔. การเก็บหรือมวนผา เมื่อทอผาไดพอประมาณแลวก็จะมวนเก็บในแกนมวนผา โดยผอน

               แกนดายยืนใหคลายออกและปรับความตึงหยอนใหมใหพอเหมาะ



               ลักษณะโดดเดนของผายกเมืองนคร

                        ลักษณะพิเศษของผายกเมืองนครศรีธรรมราช ที่สรางชื่อเสียงใหจังหวัดนครศรีธรรมราช
               จนเปนที่เลื่องลือ มาจากลวดลายที่มีความละเอียด มีลายโดยเฉพาะลายที่เชิง โดยเชิงผาจะไมเหมือนกับ

               ภาคอื่น มีลักษณะที่เปนวิธีของชางทอที่แกะดอกผูกลายเฉพาะตัวโดยมีตะกอเขาลอยยกดอกแยกเสน

               ยืนตางหาก ทําใหสามารถยกครั้งละกี่เสนก็ได การสรางลายจึงทําไดสวยงามเปนพิเศษ การที่จะ

               ทอผายกลายแปลก ๆ ได จําเปนตองใชตะกอจํานวนมากและที่เมืองนครศรีธรรมราชเคยใชตะกอ
                มากถึง ๗๐ – ๘๐ ตะกอ การทอผายกลายพิเศษจึงมีผูชวยทอยกตะกอซึ่งมีนํ้าหนักมาก เปนจํานวน ๓ – ๔  คน

               แมแตผานุงยกทองที่ชางทอผาเรียกวา “ขนาด ๑๒ เขา” ที่ทอลวดลาย ยกดอกใหญเทาฝามือ

               หนากวางถึง ๓๙ นิ้ว ก็ยังตองใชชางทอและผูชวยถึง ๓ คนจึงจะทอไดสําเร็จ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16