Page 5 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดนครครีธรรมราช ลายดอกพิกุล
P. 5

ถินกําเนิดผายกเมืองนคร
                   ่

                        ในเมืองไทยมีการทอผายกกันหลายภูมิภาคทั้งในภาคเหนือแถบจังหวัดเชียงใหม  ลําพูน  ลําปาง
               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดรอยเอ็ด และภาคใต คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช  สุราษฎรธานี และตรัง

               ทวาผายกซึ่งทอในจังหวัดสุราษฎรธานีเรียกกันในชื่อเฉพาะถิ่นวาพุมเรียง  สวนผายกที่ทอในจังหวัดตรัง

               มักเรียกวาผานาหมื่นศรีและจังหวัดนครศรีธรรมราช เราเรียกวา ผายกนคร ผายกเมืองนครเปนหัตถกรรม

               ที่ขึ้นชื่อของเมืองนคร เปนที่รูจักกันดีทั่วภาคใตและในกรุงเทพมหานคร ตั้งแตแรก ตั้งกรุงรัตนโกสินทรเปนตนมา
               อดีตนครศรีธรรมราช  เคยเปนเมืองทาทางการคาที่ใหญที่สุดในภาคใต  มีสินคามาจําหนายมากมาย  โดยเฉพาะผา

               ดวยเหตุผลทางการคาเมืองนครนาจะไดรับวัฒนธรรม การทอผาใชเองมาตั้งแตโบราณแลว แตไมทราบแนชัดวา

               มีการทอมาตั้งแตเมื่อไร และไดแบบอยาง มาจากใคร ไมปรากฏหลักฐานที่แนนอนวาเริ่มมาตั้งแตสมัยใด
               แตนาจะเกิดขึ้นกอนอาณาจักรศรีวิชัย ผายกมีมากอนกรุงศรีอยุธยาอยางแนนอน

                        หลักฐานบางชิ้นระบุวา “ยกทองใชเฉพาะเจาเมืองนครศรีธรรมราชและขาราชการชั้นผูใหญ

               ในวังหลวง นอกจากนี้ผายกทองยังเปนเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งเจาเมืองนครศรีธรรมราชสงไป

               ถวายยังราชสํานักในสมัยกรุงธนบุรีอีกดวย” สวนผายกธรรมดาจะใชกันทั่ว ๆ ไป ผูหญิงมักจะนุงผายกดอก
               หนานางหรือผาเก็บนัด ตามหลักฐานเทาที่ทราบผายกทองนั้นเพิ่งรูจักทอขึ้นใชในสมัย กรุงธนบุรี หรืออยางสูง

               ก็ราวสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย  ซึ่งมีเรื่องราวที่เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๐ ใน พ.ศ.๒๓๕๔ เกิดกบฏขึ้น

               ที่เมืองไทรบุรี เจาพระยานคร (หนู) ไดออกไปปราบปรามและกวาดตอน ชาวไทรบุรีเขามาอยูในเมืองนครศรีธรรมราช
               ในการกวาดตอนในครั้งนั้นคงกวาดเอาชางหลอ ชางทอง ชางเงิน ที่มีความสามารถในการผลิตเครื่องประดับ

               รวมทั้งชางทอผายกเขามาดวย(เพราะเมืองไทรบุรี  ไดมีชาวอินเดียเขามาตั้งถิ่นฐานและสอนการทอผา

               ใหแกชาวไทรบุรี) เหตุนี้เองที่เกิด การผสมผสาน ทางวัฒนธรรมการทอผาพื้นเมืองจนนครศรีธรรมราชมีเอกลักษณ
                                            ึ
                                               ื
                                                                        ี
                                                               ึ
                                          ี
               ของการทอผายกเมืองนครท่ข้นช่อในเวลาตอมาซ่งเปนผาท่มีความสวยงามและมีความละมาย
               คลายกับผาที่ใชแสดงระบําตาง ๆ ของแควน มณีปุระ ที่มาจากทางดานภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐ
               อินเดีย เรื่องราวที่เกิดขึ้นระหวางเมืองสงขลาและเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยกรุงธนบุรีนั้น ผายกทอง
               ในชวงนั้นคงเปนของหายาก จึงถูกจัดเปนเครื่องราชบรรณาการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10