Page 5 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 5

วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562


                                                                                 ู
                                                                 ั
                                                                         ื
                                                    ั
                                                                                           ื
                6 ของทุกปี ลูกหลานครูหมอ ตายายโนราต่างหล่งไหลมาจากทุกท่วสารทิศเพ่อมาบูชาคร ตามความเช่อของผู้ม ี
                เชื้อสายโนราเชื่อกันว่าวัดท่าแค ต�าบลท่าแค อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุงนั้นเป็นจุดก�าเนิดมโนราห์ ครูหมอ ตายาย
                โนรา ยังเฝ้ามองและเฝ้ารอลูกหลานอยู่ที่นี่ในทุกปี เมื่อลูกหลานเชื้อสายโนรามาที่นี่จะเข้าไปจุดธูปเทียนบอกกล่าว
                ต่อรูปเคารพพ่อขุนศรีศรัทธา แล้วเชิญครูบาอาจารย์ของใครของมัน มาประทับร่างหรือที่เรียกกันว่า “เข้าทรง” ซึ่ง
                                        ี
                                                                                 ่
                                                                                             ั
                                                                                                ุ
                                                                                 ี
                                        ่
                แต่ละคนจะแสดงอาการท่าทางทแสดงออกแตกต่างกนออกไป บางคนร้องไห้ บางคนเปลยนเป็นคนแก่หลงงอง้ม
                                                      ั
                                                         �
                                                                                       ู
                                                                 ิ
                                                    �
                เดินไม่ไหวต้องมีคนคอยพยุง บางคนออกท่าร่ายราหรือสาแดงฤทธ์ต่าง ๆ เช่น การปีนป่ายโรงคร จนถึงกับต้อง
                เชิญลง ท้งน้หากผู้ท่ไม่เคยเข้ามาร่วมงานหรือร่วมชมโนราโรงครูวัดท่าแค อาจค่อนข้างตกใจกับส่งท่ได้พบเห็น
                                                                                        ิ
                                                                                          ี
                         ี
                               ี
                       ั
                      ี
                                                                 ี
                         ั
                       ั
                    ั
                                                                                                ื
                แต่ท้งน้ท้งน้นทุกร่างทรงก็ไม่ได้มีพิษมีภัยแก่ผู้ใดเลย จากข้อมูลท่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา เร่อง
                “การสืบทอดและการด�ารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ต�าบลท่าแค อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง”
                วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                       1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของโนราโรงครูวัดท่าแค
                       2. เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ของโนราโรงครูวัดท่าแค
                       3. เพื่อศึกษาการสืบทอดและการด�ารงอยู่ของโนราโรงครู ในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมปัจจุบัน
                การทบทวนวรรณกรรมและแนวคิด
                       1. การสืบทอดวัฒนธรรม
                                                                           ี
                                                  �
                       การสืบทอดวัฒนธรรม หมายถึง การดาเนินชีวิตของคนกลุ่มใด กลุ่มหน่งท่แสดงออกถึงความเจริญงอกงาม
                                                                         ึ
                ความเป็น ระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียว ความก้าวหน้า และ ศีลธรรมของประชาชน (สมชัย ใจดี และยรรยง
                ศรีวิริยาภรณ์, 2545, น. 1) มนุษย์สร้างวัฒนธรรมข้นมาเพ่อประโยชน์แห่งการดารงชีวิตและการสืบทอดเผ่าพันธุ์
                                                           ื
                                                      ึ
                                                                          �
                                         ี
                การดารงชีวิตของมนุษย์เป็นเร่องท่กว้างใหญ่และมีแง่มุมต่าง ๆ ให้พิจารณาอย่างซับซ้อน เร่องของวัฒนธรรมจึง
                                                                                   ื
                    �
                                      ื
                                                                                              ่
                                                                 ี
                                                                     ั
                                                                                              ึ
                                                                                            ่
                                                                                          ุ
                                                                                            ิ
                                                                 ้
                                                               ั
                                                     ี
                                             ั
                                                                              ื
                                      ิ
                                     ิ
                สามารถพจารณาได้ หลายมตไปด้วย วฒนธรรมมความหมาย ดงน 1) วฒนธรรม คอ ผลรวมของทกสงซงเป็น
                       ิ
                ความเจริญงอกงามที่สังคมนั้น ๆ ได้ท�าไว้หรือได้สั่งสมมา 2) วัฒนธรรม คือ ผลงาน สร้างสรรค์ทางศิลปะและพุทธิ
                ปัญญาทุกแขนง 3) วัฒนธรรม คือ สิ่งที่เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีตกทอดมาจากบรรพบุรุษ และ 4) วัฒนธรรม
                                                                                           ั
                                                                      ี
                                                                         �
                                                                           ั
                         ี
                       ี
                                  ิ
                                          ี
                                        ู
                      ี
                 ื
                คอ สงทดมค่าแสดงรสนยมของผ้ด หรอชนชนสงทมการศกษาและฐานะด (สานกงานคณะกรรมการวฒนธรรม
                    ิ
                      ่
                    ่
                                             ื
                                                       ี
                                                     ่
                                                           ึ
                                                     ี
                                                 ้
                                                 ั
                                                   ู
                แห่งชาติ, 2551ก, น. 11)
                       2. แนวคิดเกี่ยวกับพิธีกรรม
                       จากการศึกษาเอกสารและงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้น�าทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับพิธีกรรมเป็นแนวคิด
                หลักในการศึกษาด้านความเช่อและพฤติกรรม ทาการศึกษาภายใต้บริบทและวัฒนธรรมของพ้นท่น้น โดยในการ
                                                   �
                                     ื
                                                                                    ื
                                                                                        ั
                                                                                       ี
                ศึกษาน้นได้มีนักมานุษยวิทยาและนักจิตวิทยาให้ความสาคัญกับการทาความเข้าใจและการวิเคราะห์ความหมาย
                                                                   �
                      ั
                                                         �
                ที่ปรากฏและซ่อนอยู่ในแต่ละขั้นตอนของพิธีกรรม ซึ่งนักวิชาการต่างมุมมองที่แตกต่างกันออกไป เช่น
                                                        4
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10