Page 4 - การสืบทอดและการดํารงอยู่ของโนราโรงครูวัดท่าแค ตําบลท่าแค อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
P. 4
RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences Vol. 4, No. 1, January-June 2019
บทน�า
ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่นเป็นส่งท่คนในท้องถ่นชุมชนน้น ๆ ได้สร้างสรรค์ข้นตามวิถีชีวิตของคนในสังคม
ี
ิ
ิ
ั
ิ
ึ
ิ
ึ
ิ
มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถ่น โดยข้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาต และสภาพแวดล้อม
ิ
ทางสังคม รวมถึง เอกลักษณ์ และความเช่อต่าง ๆ ของคนละแต่ละท้องถ่น จนกลายเป็นประเพณีศิลปะทางวัฒนธรรม
ื
้
ของสงคมนัน ๆ แต่สงคมในยคปัจจบนทมากไปด้วยความเจรญและววฒนาการอนก้าวหน้าทนสมย ทาให้มมมอง
ั
ุ
ั
ั
ั
�
ั
ุ
ี
่
ิ
ิ
ุ
ั
ั
ื
ึ
�
ด้านความเช่อ และตานานต่าง ๆ ซ่งเป็นส่วนหน่งของวัฒนธรรมแตกต่างออกไปจากวิถีด้งเดิม โดยวิถีชีวิตของ
ั
ึ
ี
ื
คนสมัยใหม่ท่รับเอาความเช่อแบบวิทยาศาสตร์เชิงประจักษ์ และเป็นไปตามแนวคิดเหตุผลนิยม เท่าน้น (ณัฐพร
ั
้
์
โกศัยกานนท และนัฏฐิกา สุนทรธนผล, 2559, น. 999) ส�าหรับภาคใตของประเทศไทยร�่ารวยในด้านศิลปวัฒนธรรม
โดยเฉพาะนาฏศิลป์มีหลายอย่าง เช่น ลิเกป่า มะโย่ง รองแง็ง โนรา ฯลฯ โนราได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง
ึ
ว่าเป็นนาฏศิลป์ท่เป็นตัวแทนของชาวภาคใต้ ซ่งมีลีลาและคีตลักษณ์บอกถึงความแข็งกร้าว บึกบึน ฉับไวและ
ี
ี
่
ี
่
ื
่
ิ
ื
ื
่
ั
็
เดดขาด เป็นกจกรรมวฒนธรรมทเก่าแก่ เป็นการสอสารทใช้ร่างกายเป็นเครองมอและใช้การเคลอนไหวอนเป็นไป
ื
่
ั
ึ
อย่างมีจังหวะ โดยมีความสัมพันธ์ระหว่างความคิดและจิตวิญญาณของผู้แสดง ซ่งเม่อผสมผสานกับลีลาดนตรีท ี ่
ื
ประโคมควบคู่กับลีลาท่าราและบทร้องแล้ว จะบอกถึงความหนักแน่นเฉียบขาด ฉับพลัน และอึกทึกเร้าใจเป็นอย่างย่ง
ิ
�
ื
ั
ี
�
โนราจึงเป็นการแสดงท่ไม่ใช่เพียงการบันเทิงหรือเป็นกิจกรรมนันทนาการเพ่อผู้ชมเท่าน้น แต่มีความสาคัญต่อ
ชาวบ้านเกือบทั้งชีวิต ทั้งนี้เนื่องจากศิลปินได้ใช้การแสดงโนราเป็นเครื่องแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความต้องการ
ของสังคมและต่อปัญหาสังคม โนราจึงอาจนับได้ว่าเป็นส่วนประกอบหนึ่งของประวัติศาสตร์สังคม การอนุรักษ์โนรา
จึงมีความหมายอย่างยิ่ง (ชวน เพชรแก้ว, 2559, น. 6) “โนรา”(หรือ มโนรา มโนราห์) เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
ื
�
ภาคใต้ท่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน โนรามีองค์ประกอบสาคัญ คือ เคร่องแต่งกาย
ี
ที่เป็นเอกลักษณ์และมีความสวยงาม และเครื่องดนตรีที่ให้เสียงไพเราะมีจังหวะอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ขณะที่
ผู้เล่นโนรานั้นจะต้องมีความสามารถในศาสตร์และศิลป์แห่งโนรา ทั้ง การร่ายร�า ร้อง เล่น การแสดงออกทางสีหน้า
ี
ท่าทาง แววตา และมีปฏิภาณไหวพริบในการแสดงการด้นสดท่ส่วนใหญ่จะเป็นมุกตลกเรียกเสียงหัวเราะจากผู้ชม
ซึ่งจ�าเป็นต้องฝึกฝนกันตั้งแต่ยังเล็ก ๆ (ปิ่น บุตรี, 2559) โนรานอกจากจะเป็นศิลปะการแสดงที่สื่อถึงความบันเทิง
ื
ื
ึ
และในอีกมุมหน่งก็ยังเป็นการส่อถึงความเช่อและความศรัทธาในรูปแบบของพิธีกรรมท่เรียกกันว่า “โนราโรงครู”
ี
ซึ่งถือเป็นศิลปวัฒนธรรมอันโดดเด่นของภาคใต้
ั
“โนราโรงครู”ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ศิลปะการแสดงทางวัฒนธรรมเท่าน้น แต่ยังถือเป็นชีวิตและจิตวิญญาณ
ี
ื
�
ู
ี
ของพ่น้องชาวปักษ์ใต้ โนราโรงคร เป็นพิธีอัญเชิญครูหรือบรรพบุรุษโนรามายังโรงพิธ เพ่อรับการเซ่นสังเวยทาพิธ ี
ไหว้ครู อันเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อครูหมอโนรา (ครูโนรา) และตายายโนรา (บรรพบุรุษ) เมื่อเชื้อเชิญ
วิญญาณครูมาเข้าทรงหรือ“ลง”มายังโรงพิธี จึงเรียกพิธีนี้ว่า“โนราลงครู” หรือ“โนราโรงครู” (Art of Traveler,
ื
�
ั
�
ื
2559) โนราโรงครูมีการกระทากันท่วไปในภาคใต้โดยจัดเป็นโรงครูประจาปีหรือโรงครูเพ่อแก้บน โดยเฉพาะในพ้นที ่
จงหวดสงขลา จงหวดพัทลง จงหวดตรัง และจงหวดนครศรีธรรมราช แต่ทยังคงปรากฏเด่นชดและเป็นโนรา
ั
ั
ั
ั
ั
ั
ั
ั
ั
ี
ุ
่
�
�
โรงครูใหญ่และสาคัญประจาปีและยังคงรูปแบบพิธีกรรมอย่างเคร่งครัด (ปิ่น บุตรี, 2559) เป็นโนราโรงครูใหญ่
และน่าสนใจ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ต�าบลท่าแค อ�าเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ซึ่งจัดขึ้นในวันพุธสัปดาห์ที่ 2 เดือน
3