Page 75 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๒
P. 75
74
ู
ี
ู
ี
วิจัยท่อาศัยฐานความร้จากความสนใจส่วนตัวและความร้ท่ได้ศึกษาในสาขาปรัชญาและศาสนา
ไปพัฒนาต่อยอด จนเกิดเป็นผลงานวิจัยที่มีมิติในเชิงสังคม ภาษาและวัฒนธรรมที่สามารถ
อธิบายปรากฎการณ์ทางความคิดความเชื่อของคนไทยที่สัมพันธ์กับจีนได้อย่างน่าสนใจ จนได้
รับรางวัลงานวิจัยดีเด่นจากหลายสถาบัน
ปัจจุบันเป็นผู้อำานวยการหลักสูตรปริญญาโท สาขาวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กรรมการบริหารศูนย์จีนศึกษาสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกรรมการบริหารศูนย์การเรียนร้จีนศึกษาบรมราชกุมาร ี
ู
ู
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์งานบริการทางสังคมเป็นผ้ทรงคุณวุฒิกรรมการกากับมาตรฐาน
ำ
วิชาการ สาขาวิชาจีนศึกษา มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย กรรมการกำากับมาตรฐานวิชาการ
สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และมหาวิทยา
ลัยอัสสัมชัญ กองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิวารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตภูเก็ต ทั้งยังดำารงตำาแหน่งอุปนายกลำาดับที่ 2 สมาคมครูภาษาจีนแห่งประเทศไทยใน
พระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
ร�งวัล
- นักศึกษาต่างชาติที่มีผลงานวิชาการดีเด่น ประจำาปี 2547 แห่งมหาวิทยาลัยหนานจิง
มณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ผลงานวิจัยเรื่อง “ปุนเถ้ากง : เทพ “เจ้าที่” จีนในสังคมไทย” ได้รับรางวัลระดับดีมาก
(สาขาปรัชญา จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำาปี 2558
- โล่ประกาศเกียรติคุณรางวัลชูเกียรตินักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำาปี 2559
- โล่เชิดชูเกียรติ ผู้ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ และผลงานทางวิชาการ จาก
หน่วยงานภายนอกคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำาปี 2559
- โล่เชิดชูเกียรติ ผู้ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น เรื่อง “เจ้าพ่อเขาตก : เทพารักษ์ไทยที่
กลายเป็นเทพเจ้าจีน” คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำาปี 2560
- โล่เชิดชูเกียรติ ผู้ที่ดำาเนินการวิจัยภายในเวลาที่กำาหนด คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ ประจำาปี 2561