Page 52 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 52

ั
                                                                                           ่
                                                                                           ี
            โรงพยาบาลห้วยยอด อําเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เป็นแห่งแรกเพ่อใช้จัดการเรียนการสอนภาคคลินิกช้น ปีท 4-6 เป็นภาคปฏิบัติจริงกับ
                                                            ื
             ู
            ผ้ป่วย ในส่วนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะดูแลในด้านหลักสูตรการเรียนการสอนและมาตรฐานวิชาชีพในการผลิตแพทย์แนวใหม  ่
                                                                                                      ์
            ร่วมกัน และจะร่วมกันจัดต้งคณะกรรมการเพ่อกําหนดแนวทางรายละเอียดการดําเนินงาน โดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง
                                             ื
                                ั
            เป็นศูนย์ประสานงานความร่วมมือในโครงการดังกล่าว โดยปีการศึกษา 2561 เปิดรับนักศึกษาเข้าศึกษาในโครงการ “ผลิตแพทย์แนวปฏิรูป”
                ุ
                                                                          ื
            เป็นร่นแรก ตามแผนรับนักศึกษาปีละ 10 คน โดยคัดเลือกนักเรียนเก่งในจังหวัดตรัง เพ่อเข้าศึกษาตามโครงการดังกล่าว มีคณะแพทยศาสตร ์
            และคณะวิทยาศาสตร์รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน และจัดให้มีการฝึกประสบการณ์ ณ โรงพยาบาลห้วยยอดและโรงพยาบาลตรัง
            ตามกรอบที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
                  6. โครงการการเรียนการสอนออนไลน์ Myschool@PSU
                  มหาวิทยาลัยดําเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับชั้นปี 4-6 ใน 14 จังหวัดภาคใต้ ทั้งโรงเรียน
                                                                              ี
                                   ู
                                                                                                    ู
                                                                                                    ้
                                                                         ู
                                                      ์
                                                        ี
                                                                                                          ื
            ของรัฐบาลและเอกชน ได้เรียนร้รายวิชาผ่านระบบออนไลน ซ่งนักเรียนสามารถเรียนร้ได้ทุกท่ทุกเวลา และสามารถนําความร  ไปใช้เพ่อเตรียม
            ความพร้อมในการศึกษาต่อระดับสูงขึ้น โดยรายวิชาที่มหาวิทยาลัยจัดสอนมี 7 รายวิชาพื้นฐาน คือ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
            ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และสังคมวิทยา ซึ่งดําเนินการสอนโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอาจารย์โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์
            โดยมีรูปแบบการเรียนการสอน คือ เรียนสดกับอาจารย์ผู้สอน เรียนทางไกลแบบเวลาจริง (เฉพาะห้องเรียนที่เป็นห้องเรียนปลายทาง) และ
            เรียนสดผ่านระบบออนไลน์ทางเว็บไซต โดยสามารถชมการเรียนการสอนย้อนหลังได้ด้วย การจัดการเรียนการสอนมีการทดสอบก่อนเรียน
                                        ์
            (Pre-test) โดยนักเรียนต้องทําข้อสอบก่อนเปิดเรียนตามโครงการใน 7 รายวิชา ซึ่งจะมีทั้งทําแบบทดสอบออนไลน์ และแบบกระดาษ และ
                                          ึ
            ทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ซ่งเป็นแบบออนไลน์และกระดาษเช่นกัน และนําข้อมูลผลการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนมา
                       ื
                                                 ี
                                                                    ี
                                                                                                ื
            เปรียบเทียบเพ่อวัดระดับผลการเรียนของนักเรียนท่เข้าร่วมโครงการ นอกจากน้ยังได้จัดทําคลังข้อสอบใน 7 รายวิชา เพ่อให้นักเรียนได้ทดสอบ
            เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจก่อนสอบเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัย ในช่วงปี 2559-2560 นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบเวลา
            จริงแล้ว มหาวิทยาลัยยังจัดกิจกรรมอื่น ๆ ภายใต้โครงการดังกล่าว เช่น โครงการอบรมการใช้โปรแกรม พัฒนาการผลิตสื่อการเรียนการสอน
            โครงการอบรมการใช้โปรแกรม Smart Notebook symposium และ Smart board สําหรับการจัดการเรียนการสอนทางไกล โครงการ
            “ตะลุยข้อสอบ มอบความรู้ มุ่งสู่มหาวิทยาลัย”  ซึ่งเป็นการตะลุยข้อสอบ 9 วิชาสามัญ และตะลุยข้อสอบ O-net ปัจจุบัน (31 สิงหาคม
            2560) มีโรงเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้เข้าร่วมโครงการ 301 โรง และมีนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 47,991 คน
                  7. ศูนย์ฝึกทักษะการช่วยชีวิตและฝึกทักษะแก่นักศึกษาแพทย์ (PSU Clinical Training Center)
                                                                                                ์
                                                    ู
                                               ้
                                                 ั
                                                                                  ์
                                                      ั
                  เป็นศูนย์แห่งแรกและแห่งเดียวในภาคใต ต้งอย่ท่ช้น 6 อาคารแพทยศาสตร์ราชนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา
                                                     ี
                   ์
                                                                           ั
            นครินทร เพ่อใช้ในการฝึกทักษะการช่วยชีวิตผ้ป่วยโดยใช้สถานการณ์เหมือนจริง รวมท้งนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการจัดการ
                      ื
                                              ู
            เรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ช้นปรีคลินิก ช้นคลินิก แพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจําบ้าน แพทย์ผ้เช่ยวชาญในด้านต่าง ๆ พยาบาล ตลอดจน
                                                                                 ี
                                  ั
                                                                                ู
                                            ั
                                                                                                            ู
                                                                                            ิ
                                                                      ื
                                                              ั
                              ึ
                                       ู
            บุคลากรทางการแพทย ซ่งจะพัฒนาผ้เรียนให้สามารถรักษาผ้ป่วยได้ต้งแต่ระดับพ้นฐานไปจนถึงระดับสูง และเพ่มความปลอดภัยให้แก่ผ้ป่วย
                             ์
                                                        ู
            มากขึ้น  “PSU Clinical Training Center ประกอบด้วย 3 หน่วย คือ
                  ศูนย์ฝึกทักษะการช่วยชีวิต (PSU CPR Training Center) เป็นศูนย์การเรียนการสอนทักษะการช่วยชีวิตขั้นสูง เพื่อพัฒนาความรู้
            ความสามารถในการฝึกทักษะการช่วยชีวิตขั้นสูง เพื่อให้เกิดทักษะลดความผิดพลาดในการปฏิบัติก่อนปฏิบัติกับผู้ป่วยจริง ซึ่งได้ฝึกอบรมให้
            กับกล่มบุคคลต่าง ๆ ไปแล้วกว่า 2,500 คน โดยร่วมมือกับกล่มอาจารย์เภสัชศาสตร กล่มบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลนครหาดใหญ จัดอบรม
                                                                                                         ่
                                                       ุ
                                                                       ์
                 ุ
                                                                          ุ
            ตามแผนงาน การทํา CPR (ปฎิบัติการเพื่อช่วยให้ฟื้นคืนชีพ) ต้องเข้าสู่กลุ่มประชาชน ขณะนี้มีการฝึกให้กับนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ทุกคน
            และยังเป็นศูนย์ฝึกในระดับนานาชาติโดยเฉพาะประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซียและอินโดนีเซีย)
                  ศูนย์ฝึกทักษะด้วยสถานการณ์จําลอง (PSU Simulation Training Center) โดยใช้หุ่นฝึกทักษะที่เป็นเทคโนโลยีขั้นสูง เป็นสื่อการ
                                                                                                           ์
                                                  ู
            เรียนการสอน ฝึกให้เกิดความชํานาญก่อนปฏิบัติกับผ้ป่วยจริง โดยมีอาจารย์ดูแล มีคนไข้จําลอง ช่วยการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย แพทย ์
            ประจําบ้านตลอดจนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ เป็นศูนย์ฝึกทักษะทําหัตถการขั้นสูง ตลอดจนจัดการอบรมให้แพทย์ทั่วไป
                 52 52
             P S U  Annual Report 2017P S U  Annual Report 2017                                                                                                                                                   P S U  Annual Report 2017   53  53
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57