Page 49 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 49
เพ่อเป็นแนวทางในการพัฒนาอาจารยใหมีสมรรถนะดานการจัดการเรียนการ
้
้
ื
์
การพัฒนาอาจารย์ผู้สอน สอน รองรับการผลิตบัณฑิตใหมีความเขมแข็งทางดานวิชาการ มีทักษะของการเปน
้
็
้
้
ตามกรอบมาตรฐาสมรรถนะ พลเมืองโลก มงสการเปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรม สะทอนอัตลักษณความเปนบัณฑิต
่
ู
์
ุ
้
็
่
็
ั
์
อาจายมหาวิทยาลัยสงขลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยกําหนดให้ใช้กรอบมาตรฐานดังกล่าวต้งแต่
นครินทร ์ ปีงบประมาณ 2559 (1 ตุลาคม 2558) เป็นต้นไป กรอบมาตรฐานสมรรถนะ
อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประกอบด้วย domain หลัก 3 ด้าน คือ
Professional Knowledge Professional Practices และ Professional Values
โดยมีระดับสมรรถนะ 4 ระดับคือระดับ 1 ดรุณาจารย์ (Fellow teacher) ระดับ 2
วิชชาจารย์ (Professional teacher) ระดับ 3 สามัตถิยาจารย์ (Scholarly teacher)
และระดับ 4 สิกขาจารย์ (Masterly teacher) ซึ่งผู้ที่จะขอรับการประเมินตามกรอบ
ู
้
ี
้
่
มาตรฐานสมรรถนะ ตองสงเอกสารหลักฐานตามท่กําหนด เพ่อใหคณะกรรมการผทรง
ื
้
ู
้
ู
้
คุณวุฒิพิจารณา โดยมีทั้งผทรงคุณวุฒิภายนอกและคณะกรรมการผทรงคุณวุฒิภายใน
ู
ผ้ผ่านการประเมินจะได้รับค่าตอบแทนรายเดือนตามท่กําหนดไว้ในแต่ละระดับ
ี
ในปี 2560 (ตุลาคม 2560) มีผ้ผ่านการประเมินตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะ
ู
ิ
ั
อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์แล้ว จํานวน 90 คน นับเป็นมหาวทยาลย
ี
แห่งแรกของประเทศท่พัฒนากรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ข้นเพ่อพัฒนาอาจารย ์
ื
ึ
อย่างเป็นระบบ
48
P S U Annual Report 2017
P S U Annual Report 2017 P S U Annual Report 2017 49 49 49 49