Page 144 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 144

143


                                3.  การติดตามผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค  และสถานการณสุขภาพระยะยาวแบบ Cohort-
                  Study เปนการศึกษาติดตามพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 6 เดือน – 14 ป ใน ต.ชะแล และ
                  ต.ควนรู  จ.สงขลา  ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีการดําเนินงานบูรณาการอาหารและโภชนาการ  โดยเปรียบเทียบกับพื้นที่ที่ไมไดดําเนินงาน
                  ระยะเวลาดําเนินงาน ตั้งแตมกราคม 2556 – ธันวาคม 2557
                                4.  การวิจัย  เรื่อง  อาหารเปนยาสมุนไพร:  กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา  (Food  as  herbal  medicine:
                  A case study of Songkhla province) มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวม วิเคราะห สังเคราะหใหเกิดเปนชุดความรูอาหารที่เปนยา
                                                                                               
                  และสรางปฏิบัติการทั้งระดับนโยบายและระดับพื้นที่  เพื่อใหประชาชนกลับมาบริโภคอาหารที่มีคุณคาตอการสงเสริม  ปองกัน
                  รักษาและฟนฟูสุขภาพ  โดยศึกษาอาหารที่ใชเปนยาที่เกี่ยวกับการปองกันและรักษาโรคเรื้อรัง  อาหารที่ใชเปนยาบํารุงรางกาย
                                                         ู
                  และอาหารที่ใชเปนยาในกลุมเฉพาะ เชน หญิงมีครรภ ผสูงอายุ คนอวน
                                แผนที่ 4 แผนงานการสื่อสารสาธารณะ
                                1.  การพัฒนาเว็บไซต consumersouth.org มีการปรับปรุงพัฒนาเว็บไซต www.consumersouth.org
                  ใหทันสมัย สามารถแสดงรายละเอียดครอบคลุมทุกกิจกรรมหลักของโครงการ
                                2.  การวางแผนงานสื่อสารสาธารณะ ไดวางแผนการดําเนินงานสื่อสารสาธารณะใน 4 ดาน คือ
                                   -  การสรางเครือขายสื่อ
                                   -  การนําเสนอและเผยแพรขอมูลสุขภาวะอาหารในวงกวาง ในประเด็นความมั่นคง ความปลอดภัย
                                     และการกินตามวัย
                                   -  การบูรณาการ เชื่อมโยงระบบขอมูลทงเว็บไซต และ social media
                                                                ั้
                                   -  การจัดตลาดนัดความรู

                                                                       ั
                                                                                                         ั
                           1.4  โครงการศึกษา  เรื่อง  การเฝาระวังยาที่มีการใชผดวตถุประสงคในกลุมวัยรุน  กรณีศึกษาในจังหวด
                                                                     ิ
                  ชายแดนภาคใต  
                                เนื่องจากในปจจุบันพบวายาที่ใชในการรักษาโรคบางชนิดไดถูกนําไปใชในทางที่ไมเหมาะสม  โดยไมมีความ
                                                                                 
                  จําเปนทางการแพทย  โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําไปใชเพื่อหวังผลในการออกฤทธิ์ทางจิตประสาททดแทนการใชยาเสพติด  หรือ
                  ใชเสริมฤทธิ์สารเสพติดบางชนิด  หรือใชเปนสารมึนเมา  หรือใชเปนยานอนหลับ  และในบางกรณีสามารถนําไปใชเปนสารตั้งตน
                    
                  ในการผลิตยาเสพติด  ดังนั้นจึงไดทําการศึกษาสถานการณและแนวโนมการใชยา  เพื่อหาแนวทางในการเฝาระวัง  อันนําไปส ู
                  มาตรการแกปญหาทั้งทางดานสังคมและทางดานกฎหมาย  รวมทงพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ  และกําหนด  “พิมพเขียว”
                                                                ั้
                  [Blueprint] ของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ดานการพัฒนาระบบการรายงานการกระจายยา โดยทําการศึกษาทั้งใน
                  กลุมเด็กเยาวชน คลินิคและรานขายยา และเจาหนาที่และบุคลากรที่เกี่ยวของกับงานขอมูลและการเฝาระวังการใชยา

                         2.  การขับเคลื่อนเชิงนโยบายสาธารณะ
                           2.1  นโยบายสาธารณะดานการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
                                เกิดรางขอเสนอเชิงนโยบายการจัดการความมั่นคงดานอาหารในระดับพื้นท จํานวน 6 พื้นทที่มีการจัดการ
                                                                                                ี่
                                                                                    ี่
                                                                  ุ
                                                        ี่
                  ความมั่นคงดานอาหารที่แตกตางไปตามบริบทของพื้นท  โดยครอบคลมดานอาหารทะเล  ไกพื้นเมือง  ปลาน้ําจืด  พืชผัก  ผลไม  
                                                                             ุ
                  และขาวพืชเมือง นําไปสูการจัดทํายุทธศาสตรระบบอาหารจังหวัดสงขลา ซึ่งครอบคลมเรื่อง
                                -  ความมั่นคงทางอาหาร
                                -  ความปลอดภัยของอาหาร
                                -  โภชนาการสมวัย
                                           ุ
                           2.2  การขับเคลื่อนชมชนและทองถิ่นใหนาอยูสูวิถีการจัดการตนเอง
                                จากโครงการติดตามสนับสนุน พัฒนาเสริมพลัง โครงการรวมสรางชุมชนทองถิ่นและทองถิ่นใหนาอยู ไดม ี
                  การดําเนินการผลักดันใหเกิดการขับเคลื่อนเชิงนโยบายสาธารณะ  โดยใชการจัดประชุมในงานสรางสุขภาคใต  “รวมขับเคลื่อน
                                                                                         ุ
                  ชุมชนและทองถิ่นใหนาอยูสูวิถีการจัดการตนเอง” จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28-29 กันยายน 2556 ณ ศูนยประชมนานาชาติฉลองสิริราช
                  สมบัติครบ  60  ป  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  มีภาคีเครือขายเขารวมกิจกรรม  จํานวน  435  คน  ประกอบดวย  ชุมชน/
                                                                                                      ั
                  นักวิชาการ  ผูทรงคุณวุฒิ  ผูแทนจากหนวยงานตางๆ  ที่เกี่ยวของ  เพื่อสรางความตระหนักรูรวมในคุณคาของทุนทางสงคมท ี่
                                ุ
                  ชุมชนมีอยู  เพื่อใหชมชนไดหันมามองอนาคตและรวมกันกําหนดแผนปฏิบัติการรวมกัน  บนฐานความเชื่อที่วาการพัฒนาจะนํา
                  ไปสูการเปลี่ยนแปลงเชงระบบ อีกทั้งชุมชนจะไดคนพบนวัตกรรมและการเรียนรูในสิ่งใหมจากประสบการณ สามารถแบงปนไป
                                  ิ
                  ยังเพื่อนชุมชนทองถิ่นดวยกันได
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149