Page 143 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 143
142
1.2.3 เกิดนวัตกรรมการสรางพื้นที่การสื่อสารภายในโครงการผานเว็บไซต www.happynetwork.org
ซึ่งเปนการสื่อสารการดําเนินกิจกรรมของพื้นที่ผานเว็บไซต ควบคูไปกับการสื่อสารสาธารณะ ทําใหกระบวนการทํางานมีความ
โปรงใสในทุกขั้นตอน และเนื้อหากิจกรรมที่เขียนไวสามารถนํามาปรับใช เขียนในรูปแบบของการรายงานผลการดําเนิน
โครงการของพื้นที่ไดอยางสะดวกรวดเร็ว ทั้งยังทําใหคนที่สนใจงานพัฒนาชุมชนทองถิ่นสามารถติดตามการดําเนินงาน สามารถ
นําไปปรับใชหรือเขามามีสวนรวมได
ั
ิ
ี
1.3 โครงการบูรณาการงานสรางเสรมสขภาวะดานอาหารและโภชนาการ กรณศึกษา จังหวดสงขลา
ุ
ุ
โครงการบูรณาการงานสรางเสริมสขภาวะดานอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา มีพันธกิจ
ในการสรางตนแบบแหลงผลิตอาหารที่มั่นคง พัฒนารูปแบบการจัดการดานอาหารปลอดภัย ปรับพฤติกรรมคนใหมีโภชนาการท ี่
ุ
สมวัย โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสขภาพ (สสส.) ระยะ
เวลาดําเนินการตั้งแต 1 พฤษภาคม 2556 – 30 เมษายน 2557 ความกาวหนาในการดําเนินงานแตละแผนงาน มีดังนี้
แผนที่ 1 แผนงานความมั่นคงทางดานอาหาร
1. ปฏิบัติการชุมชน และการพัฒนาศูนยเรียนรูดานความมั่นคงทางอาหาร มีปฏิบัติการชุมชน การสราง
เครือขาย และการพัฒนาศูนยเรียนรูดานความมั่นคงทางอาหาร ดังนี้
1) ศูนยเรียนรูวิถีธรรมชาติ ต.บานนา อ.จะนะ จ.สงขลา
ิ
2) เครือขายชุมชน ต.เชงแส อ.กระแสสินธุ จ.สงขลา
3) สถาบันศานติธรรม จ.สงขลา
4) ศูนยเรียนรูภูมิปญญาชาวบก
2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ กับการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัด
สงขลา มีการรวบรวมขอมลที่เกี่ยวของในพื้นที่ เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ นําไปสูการ
ู
กําหนดนโยบายความมั่นคงทางอาหารในระดับพื้นที่ ซึ่งมีแนวทางการจัดการความมั่นคงดานอาหารที่แตกตางกันตามบริบท
ี่
ุ
ของแตละพื้นท ครอบคลมดานอาหารทะเล ไกพื้นเมือง ปลาน้ําจืด พืชผัก ผลไม และขาวพืชเมือง ขณะนี้อยูระหวางจัดทํา
ิ
ขอเสนอเชงนโยบาย มีพื้นที่ดําเนินงาน จํานวน 6 พื้นที่ คือ
1) ตําบลบานนา อําเภอจะนะ
ิ
2) ตําบลเชงแส อําเภอกระแสสินธุ
3) ตําบลรัตภูมิ อําเภอควนเนียง
4) ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ
5) ตําบลควนรู อําเภอรัตภูม ิ
6) ตําบลชะแล อําเภอสิงหนคร
แผนที่ 2 แผนงานอาหารปลอดภัย
1. การพัฒนาอุทยานอาหารในเขตเมือง ไดจัดการประชุมหารือรวมกับเทศบาลตําบลคอหงส ชมรม
ผูประกอบการรานอาหารเทศบาลคอหงส เครือขายประชาสังคม ม.สงขลานครินทร และคณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อคัดเลือก
พื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งอุทยานอาหาร โดยมีขอสรุปใหผลักดันตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งอยูภายใตการดําเนินงานของคณะ
ทรัพยากรธรรมชาติ ใหเปนตลาดแหงการเรียนรู และเพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยใหกับผูบริโภค
2. การพัฒนาศูนยพิทักษสิทธิผูบริโภคในลักษณะเครือขายผูบริโภค-สมาคมผูบริโภคจังหวัดสงขลา มีการ
ู
จัดตั้งกลไกเฝาระวังดานการคุมครองผูบริโภคในลักษณะเครือขายผบริโภค ในระดับอําเภอ 16 อําเภอ รวมถึงมีการวางกรอบ
แนวทางในการเฝาระวังอาหารปลอดภัยในพื้นที่ และมีการฝกอบรมอาสาสมัครในพื้นที่ 11 อําเภอ (จาก 16 อําเภอ) โดยอบรม
ดานอาหารปลอดภัย กลยุทธการตลาดการโฆษณาหลอกลวงอวดอางสรรพคุณเกินจริงผานสื่อในรูปแบบตางๆ ตลอดจนการฝก
อานฉลากอาหารเพื่อสรางปฏิบัติการเฝาระวังของอาสาสมัครในพื้นที่
ุ
แผนที่ 3 แผนงานโภชนาการและอาหารคณภาพเพื่อใหมีโภชนาการสมวัย
1. การสํารวจขอมูลพื้นฐานเพื่อประเมินตนเองเบื้องตน (Baseline Data) และการประเมินผลโดยพื้นท ี่
ปฏิบัติการนํารอง ไดจัดทําเครื่องมือสํารวจตนเองของชมชนดานความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยท ี่
ุ
สอดคลองกับบริบทชุมชน
2. ปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการดานอาหาร (Intervention) มีปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการดานอาหารใน
พื้นที่นํารอง 2 แหง โดยใชกลไกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนองคกรขับเคลื่อนคือ องคการบริหารสวนตําบลควนรู อ.รัตภูม ิ
จ.สงขลา และเทศบาลตําบลชะแล อ.สิงหนคร จ.สงขลา