Page 141 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 141
140
ผลการดําเนินงานตามแผนงาน
“การพัฒนาเยียวยา สมานฉันท และสรางสรรคกําลังคน สําหรับภาคใต”
โครงการ ผูรับผิดชอบโครงการ
การเขียนบทความวิชาการเพื่อสงตพิมพระดับนานาชาติ รวมพัฒนาขอเสนอโครงการวิจัยและพัฒนา และเปนที่ปรึกษาใหคําแนะนํา
ี
แกหนวยงานและอาจารยรุนใหม
- สนับสนุนใหอาจารยและนักศึกษาเขารวมแลกเปลี่ยนกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อรวมศึกษาและพัฒนาการดําเนินงานท ี่
เกี่ยวของรวมกัน เชน การเยียวยาผูไดรับผลกระทบฯ และงานอาสาสมัครระหวางประเทศ
สถาบันวิจัยและพัฒนาสขภาพภาคใต (วพส.)
ุ
ิ
ชั้น 6 อาคารบรหารคณะแพทยศาสตร มหาวทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา
ิ
โทรศัพท/ โทรสาร : 0-7445-5150 มือถือสํานักงาน 08-1542-7006
Website : www.rdh.psu.ac.th Facebook.com/southern.rdh
E-mail : southern.rdh@gmail.com
11.6 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สจรส.ม.อ.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน
2552 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
1. เปนสถาบันจัดการงานวิจัย ที่ทําหนาที่สราง สนับสนุนและสงเสริม งานวิจัยในเชิงระบบและเชงนโยบายสขภาพ
ุ
ิ
ในระดับพื้นที่ภาคใต เพื่อสรางองคความรูและกระบวนการเรียนรู สําหรับการแกปญหาและพัฒนาระบบสุขภาพที่มีความเฉพาะ
และหลากหลายของชุมชนในพื้นที่ภาคใต ตลอดจนการเผยแพรผลงานวิจัยเพื่อนําไปสูการใชประโยชน และตอบสนองการ
ปฏิรูประบบสุขภาพ
2. เพื่อสรางเครือขายความรวมมือเพื่อใหเปนกลไกในการทํางานขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพ ระดับมหภาคใน
็
เชิงสหวิทยาการที่เขมแขงและมีความตอเนื่องของนักวิชาการ นักวิจัย และประชาชนในพื้นที่ภาคใต ทั้งที่มาจากมหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ หนวยงานภาครัฐและเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และชุมชน
3. เพื่อบูรณาการองคความรูและกระบวนการเรียนรูในการพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในมิติสาขา
วิชาการจัดการระบบสุขภาพ เพื่อเอื้อตอการสนับสนุนและสรางความเขมแขงของงานวิจัยบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย
็
ทิศทางการพัฒนาหนวยงาน
ั
วิสัยทศน (Vision)
สจรส.ม.อ. เปนสถาบันหลัก เปนแกนนําในการสงเสริม สนับสนุน ประสานการจัดการงานวิจัยและการจัดการความรู
ในเชิงระบบและนโยบายสุขภาพของภาคใต
พันธกิจ (Mission)
สจรส.ม.อ. เปนสถาบันจัดการงานวิจัยและการจัดการความรูในระบบสุขภาพ มีบทบาทสนับสนุนและสงเสริมใหผม ี
ู
สวนรวม (stakeholder) ในพื้นที่ มีศักยภาพในการสรางชุดความรู เกิดการจัดการองคความรู และขับเคลื่อนใหเกิดสังคมที่ใช
ความรูในการแกปญหา หรือสรางนวัตกรรมโดยใชบริบทพื้นที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาระบบสุขภาพที่ตอบสนองตอ
พื้นที่ภาคใต
พันธกิจหลักของ สจรส.ม.อ. จึงม 3 ประการ คือ
ี
1. การจัดการงานวิจัย
2. การขับเคลื่อนเชงนโยบายสาธารณะ
ิ
3. การจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา
ยุทธศาสตรหลักการดําเนินงานของ สจรส.มอ.
1. ใชกระบวนการทางวิชาการและงานวิจัย เปนเครื่องมือและกลไกในการประสานงาน
2. ใชการทํางานแบบเครือขาย โดยระดมนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาในทองถิ่น เครือขายประชาคม
สุขภาพ องคกรชมชนทองถิ่น ผูบริหาร ผมีอํานาจตัดสินใจ และนักวิเคราะหระบบในพื้นที่ เพื่อสรางเปน
ู
ุ
เครือขายทํางานและจัดการประเด็นสําคัญในระบบสุขภาพภาคใต