Page 142 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 142

141


                            3.  ใชกระบวนการบริหารจัดการความรู การสรางองคกรและสังคมแหงการเรียนรูใหเกิดขึ้นในเครือขายระดับ
                               ตางๆ เพื่อสรางความเขมแข็งและเปนพลังในการขับเคลื่อนและจัดการระบบสุขภาพระดับทองถิ่นไดอยาง
                               ตอเนื่อง
                            4.  ใชกระบวนการนโยบายสาธารณะ กระบวนการสมัชชาสุขภาพ ในการผลักดันนโยบายสุขภาพทั้งในระดับ
                               พื้นที่ ระดับภาคและระดับประเทศ

                  ผลการดําเนินงาน

                         1.  การจัดการงานวิจัย
                           ตั้งแตป 2555 เปนตนมา สจรส.ม.อ. ไดดําเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา ดังตอไปนี้
                           1.1  โครงการพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนเพื่อเพิ่มคุณภาพผูเสนอโครงการรวมสรางชุมชนและทองถิ่นให 
                  นาอยูในพื้นที่ภาคใต ป 2555
                                การดําเนินงานโครงการใชหลักคิดชุมชน/ทองถิ่นเปนฐานหลักของสงคม   และแนวคิดการพัฒนาระดับ
                                                                               ั
                  ชุมชนและทองถิ่นใหเขมแขง นาอยู จัดการตนเองได โดยมุงพัฒนา สนับสนุนใหชุมชนสามารถดําเนินโครงการ และมีพัฒนาการ
                                     ็
                                  
                                           ั
                  พึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน  ทั้งดานสงคม  การศึกษา  วัฒนธรรม  เศรษฐกิจ  สิ่งแวดลอม    ซึ่งจะสงผลใหประชาชนในชุมชนม  ี
                  สุขภาวะที่ดี ผลการดําเนินงานโครงการดังกลาวมีดังนี้
                                1.1.1  เกิดกลไกคณะทํางาน 3 สวน เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงาน ประกอบดวย
                                      1)  สจรส.ม.อ. มีบทบาทในการบริหารจัดการโครงการ
                                      2)  คณะทํางานดานวิชาการ  ประกอบดวย  อาจารยมหาวิทยาลัยตางๆ  ในพื้นที่ภาคใต  ไดแก
                  ม.สงขลานครินทร ม.วลัยลักษณ ม.ทักษิณ ซึ่งมีความรูความเขาใจ ประสบการณการดําเนินงาน และคลุกคลีกับบริบทในพื้นท ี่
                  ภาคใต มีบทบาทในการพัฒนาหลักเกณฑ หลักสูตร และคูมือการพัฒนาโครงการชุมชนสุขภาวะ
                                      3)  ระบบพี่เลี้ยงใหกับชุมชน  มีบทบาทในการจัดกระบวนการและสรางการเรียนรูใหกับชุมชนท ี่
                  เสนอโครงการ โดยมีจํานวนพี่เลี้ยงในพื้นที่ภาคใต ทั้งหมด 32 คน
                                                                                     ุ
                                1.1.2  ชุมชนในพื้นที่ภาคใตไดรับการสนับสนุนใหดําเนินโครงการรวมสรางชมชนและทองถิ่นใหนาอยู  ใน
                                                                  
                  ป 2555 จํานวน 129 โครงการ ครอบคลุม 13 จังหวัด เกิดเปนเครือขายชุมชนสุขภาวะใน 13 จังหวัดพื้นที่ภาคใต ไดแก ชุมพร
                  นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง สงขลา สุราษฎรธานี ระนอง สตูล พังงา กระบี่ ปตตานี ยะลา และนราธิวาส
                                1.1.3  เกิดรูปแบบและกระบวนการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในพื้นที่ภาคใต  และสงเสริมการรวมกลุม
                  เพื่อใหเกิดการเรียนรู รวมคิด รวมทํา รวมจัดกิจกรรมและดําเนินโครงการ ซึ่งเปนแนวทางหนึ่งในการสรางชุมชนเขมแข็ง
                                1.1.4  เกิดหลักสูตรและคูมือการพัฒนาโครงการชุมชนสุขภาวะ   เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติใหกับพี่เลี้ยง
                  ผูสนใจ  และเปนคูมือใหกับชุมชนในการนําไปประยุกตใชในกระบวนการพัฒนาชุมชนสุขภาวะ
                           1.2  โครงการตดตามสนับสนุน พัฒนาเสริมพลังโครงการภาคใต ป 2555
                                        ิ
                                โครงการติดตามสนับสนุนเสริมพลัง โครงการภาคใต ป 2555 มีภารกิจในการติดตาม สนับสนุน โครงการ
                  รวมสรางชุมชนและทองถิ่นใหนาอยู  โครงการเปดรับทั่วไป  และโครงการผูสูงอายุ  จํานวนทั้งสิ้น  193  โครงการ  ในพื้นที่  13
                                                                   ุ
                                                                        ุ
                  จังหวัดภาคใต ประกอบดวย กระบี่ พังงา  สงขลา พัทลุง ระนอง ชมพร สราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล ปตตานี
                  ยะลา และนราธิวาส ผลการดําเนินงานมีดังนี้
                                1.2.1  เกิดกลไกการดําเนินงาน 4 ระดับ คือ
                                      1)  สจรส.ม.อ. มีบทบาทในการจัดการ และประสานงานโครงการ
                                      2)  คณะทํางานวิชาการ  ประกอบดวย  อาจารยมหาวิทยาลัยตางๆ  ในพื้นที่ภาคใต  ไดแก
                  ม.สงขลานครินทร ม.วลัยลักษณ ม.ทักษิณ ซึ่งมีความรูความเขาใจ ประสบการณการดําเนินงาน และคลุกคลีกับบริบทในพื้นท ี่
                                                                  ิ
                  ภาคใต มีบทบาทในการรวมคิด ออกแบบหลักเกณฑ หลักสูตร และผลตคูมือการติดตามสนับสนุนและประเมินผลโครงการ
                                      3)  คณะทํางานระดับปฏิบัติงานพื้นที่ ประกอบดวย
                                                                    ุ
                                        -  พี่เลี้ยงพัฒนาโครงการ “รวมสรางชมชนและทองถิ่นใหนาอยู” ภาคใต
                                                                               ุ
                                        -  พี่เลี้ยงติดตามและประเมินผลโครงการ “รวมสรางชมชนและทองถิ่นใหนาอยู” ภาคใต
                                      4)  คณะทํางานพัฒนาระบบหนุนเสริมการทํางานคณะทํางานระดับปฏิบัติงานพื้นที่ และ
                  สังเคราะหความรู
                                1.2.2  เกิดหลักสูตร และคูมือการติดตามประเมินผลโครงการชุมชนเปนสุข
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147