ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิวัติ แก้วประดับ

วาระการดํารงตําแหน่ง

  • ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 – ปัจจุบัน (2565)

ประวัติ

       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิวัติ แก้วประดับ (Asst. Prof. Dr. Niwat Keawpradub) เกิดที่ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

การศึกษา

  • เภสัชศาสตรบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2530
  • เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชเวท) คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2533
  • Doctor of Philosophy, Pharmacognosy, Department of Pharmacy, King’s College, University of London, 2541

การทำงาน

  • อาจารย์ ระดับ 3 ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ตำแหน่งทางการบริหาร 

  • รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ระหว่าง พ.ศ. 2541-2545
  • คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่าง พ.ศ. 2545-2551
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2551
  • กรรมสภาเภสัชกรรม (ประเภทผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) ระหว่าง พ.ศ. 2549-2549
  • กรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่าง พ.ศ. 2545-2551
  • รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและการเงิน ระหว่าง มิ.ย. พ.ศ. 2558-พ.ค. 2561
  • อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561-ปัจจุบัน (2565)

ผลงานทางวิชาการ

  • Keawpradub, N., Takayama, H. and Sakai, S. 1992. “Phytochemical study of Alstonia glaucesscens.” Songklanakarin J. Sci. Technol., 263-269.
  • Keawpradub, N., Takayama, H., Aimi, N. and Sakai, S. 1994. Indole alkaloids from Alstonia glaucescens.” Phytochemistry, 1745-1749.
  • Subhadhirasakul, S., Puripattanavong, J. and Keawpradub,N. 1994. “Heavy metal content in Thai traditional medicine preparations : internal use.” Songkalnakarin J. Sci. Technol., 343-352.
  • Keawpradub, N. Houghton, P.J., Eno-Amooquaye, E and Burke, P.J. 1997. “Activity of extracts and alkaloids of Thai Alstonia species against human lung cancer cell lines”. Planta Medica, 97-101.
  • Keawpradub, N. and Houghton, P.J. 1997. “Indole alkaloids from Alstonia macrophylla.” Phytochemistry, 757-762.
  • Subhadhirasakul, S., Puripattanavong, J. and Keawpradub, N. 1999. “Metal content in Thai traditional medicine preparations for external use”. Songkalnakarin J. Sci. Technol, 341-345.
  • Keawpradub, N., Kirby, G.C., Steele, J.C.P. and Houghton, P.J. 1999. “Antiplasmodial activity of extracts and alkaloids of three Alstonia species from Thailand”. Planta Mediac, 690-694.
  • Keawpradub, N. Eno-Amooquaye, E., Burke, P.J. and Houghton. P.J. 1999. “Cytotoxic activity of indole aldaloids from Alstonmacrophylla.” Planta Medica, 311- 315.
  • Keawpradub, N., Salaeh, S. and Muangwong, S. 2001. “Free radical scavenging activity of Star anise (Illicium verum).” Songkalnakarin J. Sci. Technol, 527-536.
  • Keawpradub, N., Itharat, A., Tantikarnkul, A., Rugleng, S. and Inruspong, P. 2001. “Cytotoxic alkaloids from the tuber of Stephania venosa.” Songkalnakarin J. Sci. Technol, 225-234.
  • Itharat, A., Plubrukarn, A., Kongsaeree, P., Bui, T., Keawpradub, N. and Houghton, P.J. Dioscorealides and dioscoreanone, novel cytotoxic naphthofuranoxepins, and 1,4-phenanthraquinone from Dioscoreamembranacea Pierre. Organic Letters, 2879-2882.
  • Wonganuchitmeta, S., Yuenyongsawad, S., Keawpradub, N. and Plubrukarn, A. 2004.
    Antitubercular sesterterpenes from Thai sponge Brachiaster sp. J. Nat. Prod.,
    1767-1770.
Back To Top