18th April 2024

ศาสตราจารย์ (พิเศษ) นายแพทย์ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์

วาระการดํารงตําแหน่ง
กรกฎาคม 2527-มิถุนายน 2526 (2 วาระติดต่อกัน)

ประวัติ 
       
ศาสตราจารย์ (พิเศษ) นายแพทย์ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ (Professor Tongchan Hongladarom, M.D., M.Ed., Dr. Med.) เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธเกิดวันที่ 2 มกราคม 2571 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรที่ 2 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 12 คน ของนายทอง และนางพรเพ็ญ หงศ์ลดารมภ์ สมรสกับ น.อ. หญิง มนัสสวาสดิ์ มีบุตร 2 คน ชาย 1 คน หญิง 1 คน

การศึกษา

  • เรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนอำนวยศิลป์ ในปี พ.ศ. 2784
  • เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2487
  • แพทย์ศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2495
  • Dr.Med. มหาวิทยาลัยฮัมเบร์ก ประเทศเยอรมัน  ในปี พ.ศ. 2502
  • M.Ed. มหาวิทยาลัยอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา  ในปี พ.ศ. 2515

การฝึกอบรม/ดูงาน

  • Neurophysiology คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซ็นต์หลุยส์ มิสซูรี สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2508-2509
  • Electroencephalography ณ Institute of Neurology Queen Square, London, U.K. ในปี พ.ศ. 2502

การทำงานและตำแหน่งทางการบริหาร

  • แพทย์ประจำบ้านอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2495-2497
  • อาจารย์แผนกอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2497
  • พ.ศ. 2515 หัวหน้าหน่วยแพทยศาสตร์ศึกษา
  • พ.ศ. 2516-2521 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2521 ผู้อํานวยการโครง IT การส่งเสริมการศึกษาแพทย์สําหรับชาวชนบท (MESRAP) ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  • พ.ศ. 2510 และ 2515 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2518-2521
  • รักษาการคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 19 ก.พ. 2522-19 ก.ค. 2522
  • อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 19 ก.ค. 2522-31 พ.ค. 2528
  • กรรมการแพทยสภา และประธานอนุกรรมการสอบความรู้ เพื่อขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพเวชกรรม –
  • กรรมการบริหารแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย
  • ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกทางบุคลากรสาธารณสุขประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • พ.ศ. 2529-2531 ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกด้านแพทยศาสตร์ศึกษา ประจําประเทศบังคลาเทศ
  • พ.ศ. 2532-2533 ผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย ฝ่ายพัฒนาบุคลากร
  • พ.ศ. 2533 รักษาการผู้อํานวยการวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย
  • พ.ศ. 2539-2543 ผู้อํานวยการโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2543
  • 2548 ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาและประกันคุณภาพการศึกษา (พปค.) สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
  • เกษียณอายุราชการ ในปี พ.ศ. 2532

ผลงานการบริหารขณะที่อยู่ในตำแหน่ง

  • จัดตั้งหน่วยพัฒนาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในขณะดำรงตำแหน่งรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2518
  • ร่วมพัฒนาหลักสูตรโครงการ การศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท (MESRAP) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2519
  • ดำเนินการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในขณะดำรงตำแหน่งอธิการบดี ปี พ.ศ. 2525-2529

รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ

  • เหรียญทองรางวัลเรียนดีตลอดหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต ในปี พ.ศ. 2495
  • อาจารย์ดีเด่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2531
  • ปริญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปี พ.ศ. 2528
  • ปริญญาแพทยศาสตรษฎีบเนเตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2535)
  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2547)
  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยนเรศวร (2547)

เกียรติประวัติที่ภาคภูมิใจ

    – ได้รับเกียรติเป็นบุคลากรดีเด่น ประเภทความเป็นครู จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2532)
– ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ให้ดํารงตําแหน่ง “ศาสตราจารย์พิเศษ” คณะ
แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2534)
– ได้รับพระราชทานเหรียญรางวัล เจ้าฟ้าสุทธาทิพย์จากองค์อุปนายิกา สภากาชาดไทย ในฐานะที่เป็นผู้ทําคุณประโยชน์ดีเด่น ในด้านการพัฒนาองค์กรและวิชาการให้แก่สภากาชาดไทย

ผลงานในช่วงดํารงตําแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 

     1.  ดําเนินการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่วิทยาเขตปัตตานี
    2. จัดตั้งสํานักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์คอมพิวเตอร์ สํานักวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยอิสลามศึกษา และวิทยาลัยชุมชนภูเก็ตขึ้นเป็นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ
3. เริ่มเปิดสอนหลักสูตรอิสลามศึกษาขึ้นในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
4. รับนักเรียนจากโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามเข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย เพื่อให้มีโอกาสเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น
5. จัดตั้งศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในการที่จะผสมผสานกลุ่มและบุคคลต่าง ๆ ให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
     6. จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมราชชนกที่วิทยาเขตหาดใหญ่
     7. ดําเนินการสืบเนื่องในการจัดสร้างอาคารสํานักงานอธิการบดีโ ดยได้รับความอนุเคราะห์จากธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด จนสําเร็จ
     8. เวนคืนที่ดินและดําเนินงานให้ผู้บุกรุกออกจากเขตมหาวิทยาลัย วิทยาเขตหาดใหญ่
9. ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จนแล้วเสร็จ
10. ผลักดันให้สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ดำเนินการออกอากาศได้ในปี 2524
11. ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการสอน การวิจัย และ การประยุกต์ใช้ความรู้และวิทยาการเพื่อพัฒนาประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัยออสเตรเลียตะวันตก มหาวิทยาลัยอาเบอร์เคน มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ และมหาวิทยาลัยมิสซูรี

วาระการดำรงตำแหน่ง
กรกฎาคม 2522 – มิถุนายน 2528 (2 วาระติดกัน)

ประวัติการศึกษา

  • แพทยศาสตรบัณฑิต (เหรียญทองคะแนนยอดเยี่ยมตลอดหลักสูตร) จากคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (2495)
  • Doktor der Medizin (Dr.med) จากมหาวิทยาลัยฮัมบูร์ก สหพันธรัฐเยอรมัน (2500 – 2502)
  • M.Ed จากมหาวิทยาลัย Illinois นคร Chicago มลรัฐ Illinois สหรัฐอเมริกา (2514)

ปริญญากิตติมศักดิ์

  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2528)
  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2535)
  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2538)
  • ปริญญาทันตแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2547)
  • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยนเรศวร (2547)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

  • พ.ศ. 2515 หัวหน้าหน่วยแพทยศาสตร์ศึกษา
  • พ.ศ. 2518 – 2521 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2521 ผู้อำนวยการโครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท (MESRAP) ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการแพทยสภา และประธานอนุกรรมการสอบความรู้ เพื่อขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพเวชกรรม
  • กรรมการบริหารแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย
  • ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกทางบุคลากรสาธารณสุขประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • พ.ศ. 2522 รักษาการคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • พ.ศ. 2522 – 2528 อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2 วาระติดกัน)
  • พ.ศ. 2529 – 2531 ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกด้านแพทยศาสตร์ศึกษา ประจำประเทศบังคลาเทศ
  • พ.ศ. 2532 – 2533 ผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย ฝ่ายพัฒนาบุคลากร
  • พ.ศ. 2533 รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย
  • พ.ศ. 2539 – 2543 ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • พ.ศ. 2543 – 2548 ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาและประกันคุณภาพการศึกษา (พปค.) สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ

เกียรติประวัติที่ภาคภูมิใจ

  • ได้รับเกียรติเป็นบุคลากรดีเด่น ประเภทความเป็นครู จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2532)
  • ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง “ศาสตราจารย์พิเศษ” คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2534)
  • ได้รับพระราชทานเหรียญรางวัล เจ้าฟ้าสุทธาทิพย์จากองค์อุปนายิกา สภากาชาดไทย ในฐานะที่เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ในด้านการพัฒนาองค์กรและวิชาการให้แก่สภากาชาดไทย

ผลงานในช่วงดำรงตำแหน่งอธิการบดี

  1. ดำเนินการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่วิทยาเขตปัตตานี
  2. จัดตั้งสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยอิสลามศึกษา และวิทยาลัยชุมชนภูเก็ตขึ้นเป็นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ
  3. เริ่มเปิดสอนหลักสูตรอิสลามศึกษาขึ้นในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  4. รับนักเรียนจากโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามเข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย เพื่อให้มีโอกาสเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น
  5. จัดตั้งศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในการที่จะผสมผสานกลุ่มและบุคคลต่างๆ ให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
  6. จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมราชชนกที่วิทยาเขตหาดใหญ่
  7. ดำเนินการสืบเนื่อง จัดสร้างอาคารสำนักงานอธิการบดี โดยได้รับความอนุเคราะห์จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด จนสำเร็จ
  8. เวนคืนที่ดิน และดำเนินงานให้ผู้บุกรุกออกจากเขตมหาวิทยาลัย วิทยาเขตหาดใหญ่
  9. ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จนแล้วเสร็จ เปิดให้บริการในส่วน 100 เตียง ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525
  10. ผลักดันให้สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ดำเนินการออกอากาศได้ในปี 2524
  11. ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การสอน การวิจัย และการประยุกต์ใช้ความรู้ และวิทยาการเพื่อพัฒนาประเทศ อาทิ