Page 14 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดนครครีธรรมราช ลายดอกพิกุล
P. 14

ลายเชิงผา (ลายกรวยเชิง) เปนลายสวนลางของผา

                                                               หรืออยูริมผา ตามที่พบมี ๓ ลักษณะ ดังนี้
                                                                     ๑.  กรวยเชิงซอนหลายชั้น  พบในผายก

                                                               เมืองนคร ซึ่งเปนผาสําหรับเจาเมือง ขุนนางชั้นสูง

                                                               และพระบรมวงศานุวงศ  นิยมทอดวยเสนทอง

                                                               ลักษณะกรองเชิงจะมีความออนชอย  ลวดลาย
                                                               หลายลักษณะประกอบกัน ริมผาจะมีลายขอบผา

               เปนแนวยาวตลอดทั้งผืน กรวยเชิงสวนใหญจะมี ๒ ชั้น และ ๓ ชั้น ซึ่งประกอบรวมกับลายประจํา

               ยามกามปู ลายประจํายามเกลียวใบเทศ ลายเครือเถา ลักษณะพิเศษของกรวยเชิงรูปแบบนี้ คือ พื้นผา

               จะมีการทอสลับสีดวยเทคนิคการมัดหมี่เปนสีตาง ๆ เชน แดง นํ้าเงิน มวง สม นํ้าตาล ลายทองผา

               พบผาทั้งผืนและยกดอก เชน ลายเกล็ดพิมเสน ลายดอกพิกุล เปนตน


                                                                     ๒. กรวยเชิงชั้นเดียว นิยมทอดวยเสนทอง
                                                               หรือเสนเงิน จะพบในผายกเมืองนครซึ่งเปนผา

                                                               สําหรับคหบดี และเจานายลูกหลานเจาเมือง

                                                                                ั
                                                                                      ั
                                                               ลักษณะกรวยเชิงส้นทอค่นดวยลายประจํายาม
                                                               กามปู ลายประจํายามเกลียวใบเทศไมมีลายขอบ
                                                               ในสวนของลายทองผานิยมทอดวยเสนไหม

                                                               เปนลวดลายตาง ๆ เชน ลายดอกพิกุล ลายดอกเขมร

                                                               ลายลูกแกวฝูง เปนตน



                                                                     ๓.  กรวยเชิงขนานกับริมผา  ผายกเมืองนคร

                                                               ลักษณะนี้ เปนผาสําหรับสามัญชนทั่วไปใชนุง
                                                                                              ี
                                                               ลวดลายกรวยเชิงถูกดัดแปลงมาไวท่ริมผาดานหน่ง
                                                                                                         ึ
                                                               โดยผสมดัดแปลง นําลายอื่นมาเปนลายกรวยเชิง

                                                                  ื
                                                               เพ่อใหสะดวกในการทอและการเก็บลายจะนอยลง
                                                               ทําใหสามารถเก็บลายไดรวดเร็วขึ้น ผาลักษณะนี้

                                                               มีทั้งทอดวยไหมและทอดวยฝาย หรือทอผสม

                                                               ฝายแกมไหม ที่พบจะเปนผานุงสําหรับสตรี หรือใช้
                                                               เปนผานุงสําหรับเจานาค ในพิธีอุปสมบท


               ขอขอบคุณ  ขอมูลจากหนังสือผายกเมืองนคร

                            โครงการศูนยการเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น
                            ศูนยวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
   9   10   11   12   13   14   15   16