Page 98 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๑
P. 98
97
มีเหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆโดยเฉพาะในภาคใต้ ทั้งกรณีภัยพิบัติสึนามิที่ชายฝั่งตะวันตกของ
ำ
ประเทศไทย และน้าท่วมครั้งใหญ่ในหาดใหญ่ และในจังหวัดอื่นๆ ในภาคใต้ โดยส่วนใหญ่จะ
ู
ู
ั
ื
ทางานอย่เบ้องหลังของศูนย์ช่วยเหลือผ้ประสบภัยของท้งคณะเภสัชศาสตร์และมหาวิทยาลัย
ำ
สงขลานครินทร์ และจะอาสาลงไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ
คณะเภสัชศาสตร์ทุกครั้ง
เป็นประธานหน่วยบริการเภสัชสนเทศและบริการสังคมตั้งแต่ปี 2536-2559 เป็นเวลา
23 ปี และปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาของหน่วยนี้ หน่วยนี้ให้บริการความรู้และตอบคำาถามด้าน
ยาสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้แก่ เภสัชกร บุคลากรทางสาธารณสุข และประชาชน
ทั่วไป โดยมีบริการตอบคำาถามทางโทรศัพท์และทางเว็บไซต์ http://drug.pharmacy.psu.
ac.th ซึ่งเดิมเป็นความร่วมมือของเครือข่ายคณะเภสัชศาสตร์หลายสถาบันในประเทศไทย โดย
มีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นแกนหลักในการดำาเนินงาน ต่อมาคณะ
เภสัชศาสตร์ต่างๆ มีการตั้งหน่วยการตอบคำาถามของตนเอง ปัจจุบันเว็บไซต์นี้จึงเป็นเว็บไซต์ที่
ดำาเนินงานโดยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีอาจารย์และนักศึกษาใน
คณะเภสัชศาสตร์เป็นผู้ตอบคำาถาม นอกจากนี้ ยังใช้ในการสอนและฝึกปฏิบัติงานด้านการค้น
ข้อมูลและการตอบคำาถาม ในงานบริการเภสัชสนเทศของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ด้วย
เป็นคณะทำางานโครงการระบบออนไลน์ เพื่อการจัดการความรู้สุขภาวะมหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ในปี 2552 ถึง 2559 โดยรับผิดชอบจัดทำาศูนย์ข้อมูลยาเผยแพร่ในเว็บไซต์
healthy.in.th และร่วมมือกับสำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในการให้บริการวิชาการ
ความรู้เรื่องยา โดยร่วมกับรศ.ดร.โพยมวงศ์ ภูวรักษ์ ในการริเริ่มพัฒนาเอกสารกำากับยาสำาหรับ
ประชาชนของสำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตั้งแต่ปี 2551 เนื่องจากเอกสารกำากับยา
ที่บรรจุในกล่องยาในประเทศไทยในปัจจุบัน ไม่ได้มีกฎหมายกำาหนดให้มีเอกสารที่ใช้ภาษาที่
ประชาชน ทั่วไป สามารถเข้าใจได้ภาษาในเอกสารกำากับยาในประเทศไทย จึงเป็นศัพท์ทางการ
แพทย์ที่เข้าใจกันเฉพาะในหมู่บุคลากรทางการแพทย์ และบางผลิตภัณฑ์มีข้อมูลในเอกสาร
กำากับยาน้อยมากจนอาจทำาให้เกิดปัญหาการใช้ยาได้ สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึง
มีดำาริในการจัดทำาเอกสารกำากับยาสำาหรับประชาชนประชาชนขึ้นและได้ประสานให้ รศ.วิบูลย์
วงศ์ภูวรักษ์ และรศ.ดร.โพยม วงศ์ภูวรักษ์ ช่วยเป็นแกนหลักเพื่อริเริ่มในการจัดทำาราย 28 ตัว
ยาเมื่อนับแยกตามรูปแบบยาได้เป็น 261 รูปแบบ และเมื่อนับแยกตามความแรงของยาได้เป็น
457 ความแรงยาแต่ละความแรงต้องจัดทำา working Fine 13 ไฟล์ โดยมีทีมงานประกอบด้วย
อาจารย์ และเภสัชกรในโรงพยาบาล บ้านในภาคใต้จำานวน 9 คน ทางสำานักงานคณะกรรมการ
ำ
ำ
ำ
อาหารและยาได้นาผลงานส่วนน้ไปทาประชาพิจารณ์และทาเป็นต้นแบบสาหรับการจัดทา
ี
ำ
ำ
เอกสารกำากับยาสำาหรับประชาชนในปัจจุบัน