Page 19 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๕๕
P. 19

นพ. ชนพ ยังสนใจในการพัฒนาการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา ด้วยเทคนิคต่าง ๆ โดยเฉพาะ
        immunohistochemistry รวมไปถึง molecular genetics ในปีสุดท้ายของการฝึกอบรมพยาธิ
        วิทยากายวิภาค ได้ท�าการศึกษาการเปลี่ยน แปลงทางพันธุศาสตร์ระหว่างการพัฒนา (progres-
        sion) ของเนื้องอกสมองชนิด astrocytoma ระหว่างการฝึก อบรมที่ต่างประเทศ ได้ศึกษา
        neuritic pathology ในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคทางจิตชนิดต่างๆ และศึกษาความสัมพันธ์ทาง
        พยาธิวิทยาและคลินิกของผู้ป่วย extraventricular ependymal tumor จ�านวน 32 ราย
                  หลังจากกลับมาท�างานที่ประเทศไทย นพ.ชนพ ได้ท�างานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยได้
        ศึกษาการใช้ cytokeratin (CK) 7 และ CK20 ในการค้นหาอวัยวะต้นก�าเนิดของมะเร็งที่แพร่
        กระจายมายังระบบประสาทส่วนกลาง, รายงานอนุกรมผู้ป่วย Epstein-Barr virus associated
        smooth muscle tumor ที่ใหญ่ที่สุด (ในขณะนั้น) ที่พบในผู้ป่วยโรคเอดส์ชาวไทย, ค้นพบการ
        แสดงออกของ NeuN (neuronal nuclear antigen) เป็นครั้งแรกใน neuroendocrine
        carcinoma, ศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับ methylation ของจีโนมในการเกิดมะเร็ง, ศึกษาการ
        แสดงออกของโปรตีน J1-31 ในรอยโรคของ astrocyte, ศึกษาการใช้เทคนิค PCR ในการตรวจ
        หาเชื้อวัณโรคในต่อมน�้าเหลืองที่มีพยาธิสภาพแบบ necrotizing non-granulomatous
        lymphadenitis, ศึกษาการด�าเนินโรคของมะเร็งชนิด neuroblastoma ในผู้ป่วยเด็กไทย และ
        ศึกษาพยาธิสภาพและพยาธิก�าเนิดของโรคพิษสุนัขบ้า
               ด้ำนต�ำรำ
                 นพ. ชนพ ได้ร่วมแต่งต�าราการจ�าแนกชนิดของเนื้องอกระบบประสาทขององค์การ
        อนามัยโลก (Pathology & Genetics of Tumors of the Nervous System. World Health
        Organization Classification of Tumors, IARC Press: Lyon, 2000) ในปี พ.ศ. 2543  และ
        ได้ตีพิมพ์ต�าราภาษาไทยเรื่อง พยาธิวิทยาวินิจฉัยของเนื้องอกระบบประสาทในปี พ.ศ. 2549
               ด้ำนงำนบริกำร
                  ในปลายปี พ.ศ. 2544 นพ. ชนพ ได้ริเริ่มการวินิจฉัยชิ้นเนื้อทางระบบประสาท
        ระหว่างการผ่าตัด โดยใช้เทคนิค squash cytology และ frozen section ที่คณะแพทยศาสตร์
        จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งพบว่ามีความแม่นย�าสูง ในปี พ.ศ. 2551 ได้เปิดบริการการตรวจ
        methylation ที่ promoter ของยีน MGMT (O6-methylguanine–DNA methyltransferase)
        ที่มีผลต่อการพิจารณาการรักษาผู้ป่วย glioblastoma รวมทั้งให้บริการการตรวจโครโมโซม
        1p/19q และ EGFR gene copy number ในเนื้องอกสมองกลุ่ม glioma
                 ภายได้การสนับสนุนจากฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2552 นพ. ชนพ ได้
        ร่วมก่อตั้งและด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการ Chulalongkorn GenePRO Center เพื่อให้บริการ
        การตรวจทางอณูพยาธิวิทยา แก่ผู้ป่วยทั้งในและนอกโรงพยาบาลจุฬาฯ โดยเน้นการตรวจหา
        การกลายพันธ์ของยีนที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง (เช่น ตรวจการกลายพันธุ์ของยีน KRAS และ EGFR ใน
        มะเร็งล�าไส้ใหญ่และมะเร็งปอด ตามล�าดับ) นับเป็นการน�าความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดูแลรักษาผู้
        ป่วยอย่างเป็นรูปธรรม



                                                    ุ
                                                       ั
         18 ศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปพทธศกราช ๒๕๕๕
                                                   ี
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24