Page 34 - ว่าวมลายู
P. 34

27







                                       เอกภาพของทัศนธาตุ องค์ประกอบที่ส าคัญ 4 ประการคือ
                                            8.1.1 ความขัดแย้งหรือความตัดกัน

                                            8.1.2 ตัวประสาน มีการเคลื่อนไหว
                                            8.1.3 จุดเด่น จุดแห่งความสนใน

                                            8.1.4 การค่อยๆเปลี่ยนแปลงไปตามเดิม
                              ในการสร้างงานศิลปะ โดยเฉพาะผลงานศิลปะในแนวศิลปะสมัยใหม่ (Modern Art) ผลงาน

                       แต่ละชิ้นควรมรเอกภาพ ซึ่งมีองค์ประกอบทั้ง 4 ประการ ดังกล่าวครบถ้วน (วุฒิ วัฒนสิน,  2539  :
                       177)


                       จิตรกรรม


                              1.  จิตรกรรม หมายถึง ภาพศิลปินแต่ละบุคคลสร้างขึ้นด้วยประสบการณ์ทางสุนทรียภาพ
                                                                            ื่
                       และความช านาญโดยสีชนิดต่างๆ เช่น สีน้ า สีน้ ามัน สีฝุ่น และอนๆ เป็นสื่อกลางในการแสดงออกถึง
                                                                              ื้
                       เจตนาในการสร้างสรรค์ การสร้างงานจิตรกรรม การสร้างงานบนพนราบเป็นส่วนใหญ่ เช่น กระดาษ
                       ผ้า แผ่นไม้ ผนัง เพดาน ซึ่งศิลปินอาจเลือกในรูปแบบต่างๆ เช่น แบบสัจนิยม แบบอดมคติ หรือแบบ
                                                                                            ุ
                       นามธรรม

                              สรุปได้ว่า จิตกรรม เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัด
                                               ื่
                                           ื่
                       องค์ประกอบความงามอน เพอให้เกิดภาพ 2  มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่ง
                       ของทัศนศิลป์ ผู้น างานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร

                              2.  จิตรกรรมเทคนิคสีอคริลิค (Acrylic Colour)
                                     สีอะคริลิกหรือสีพอลิเมอร์ เริ่มน ามาใช้ครั้งแรกในงานอุตสาหกรรมในนามของสี

                       พลาสติก (Plastic  Paint)  ต่อมาจึงถูกน ามาใช้ในงานศิลปะร่วมสมัยของอเมริการาวกลาง
                       คริสต์ศตวรรษที่ 20 เรียกว่า สีอะคริลิก (ราชบัณฑิตยสถาน, 2541 :185)
                                                ั
                                    สีอะคริลิก ได้พฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 1920 ผลิตขึ้นมาใช้ในวงการ
                       อุตสาหกรรมจนกระทั่งหลังจากปี ค.ศ. 1950 ก่อน ปี ค.ศ. 1960 ศิลปินอเมริกันได้น าสีอะคริลิกมาใช้

                       เป็นครั้งแรกในงานศิลปะ นับว่าเป็นการเคลื่อนไหวในการศิลปะที่เรียกว่า Pop  Art  และได้รับความ
                       นิยมมาจนถึงปัจจุบัน (Clouse,  1988 : 14) คุณสมบัติของสีอะคริลิกกล่าวคือ แห้งเร็ว เนื้อสีมี
                       ลักษณะทึบมากกว่าโปรงใส เนื้อสีจะด้านไม่เป็นเงา การระบายต้องผสมด้วยน้ าหรือสีขาว สามารถ
                                                          ื้
                       ระบายทับบนสีที่แห้งแล้วได้เลย เทคนิคพนฐานของสีอะคริลิกในบทนี้ได้กล่าวถึง 5 เทคนิค ได้แก่
                                                          ู่
                       เทคนิคการเกลี่ยกลมกลืน เทคนิคการใช้พกันสีแห้ง เทคนิคการขูด ถู หรือการปาด ป้าย เทคนิคการ
                       สร้างพื้นผิวและเทคนิครอยฝ้า เทคนิคดังกล่างเหล่านี้สามารถสร้างสรรค์ความงามให้แก่งานจิตรกรรม
                       ได้ทั้งสิ้น
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39