Page 35 - ว่าวมลายู
P. 35
28
2.1 กรรมวิธีใช้สีอะคริลิค (TECHNIQAUES)
กรรมวิธีการใช้สีอะคริลิคที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
2.1.1 การใช้ความขาวของพื้นระนาบ (Using The Ground)
คุณสมบัติส าคัญประการหนึ่งของสีอะคริลิคคือเมื่อผสมกับน้ าหรือ
ี
(Acrylic medium) แล้วจะมลักษณะโปร่งใสคล้ายสีน้ าดังนั้นเมื่อระบายสีใดสีหนึ่งลงบนพื้นระนาบสี
ขาวความขาวของพื้นระนาบจะมีส่วนแสดงตัวขึ้นมาผสมกับสีคละชั้นบนด้วย
2.1.2 การท าให้สีบางใส (Glazing)
ส าหรับสีอะคริลิคถ้าต้องการภาพที่มีผิวของสีเป็นมันและขาวใสก็ท า
ึ
ได้โดยง่ายและให้ผลที่น่าพงพอใจทีเดียวโดยการผสมสีอะคริลิคกับน้ าและผสมของ Glaze medium
2.1.3 การระบายสีทึบเรียบ (Opaquecolour)
เมื่อต้องการระบายสีอะคริลิคให้ได้สีทึบต้องใช้สีที่ข้นมีเนื้อสีมากโดย
ไม่ต้องผสมอะไรเลยก็ได้แต่ตามปกตินิยมผสมน้ าหรือ (Acrylic medium) เล็กน้อย
2.1.4 การแสดงวัยเป้งหรือลอยพู่กัน (Brush strokes)
เมื่อต้องการภาพส าหรับที่ทิ้งรอยแปรงปรากฏให้เห็นด้วยสีอะคริลิค
นั้นสามารถท าได้ง่ายเช่นเดียวกันกับการใช้สีน้ ามันโดยจะต้องใช้สีที่ไม่ต้องผสมให้บางลงหรืออาจจะ
ผสมด้วยน้ าหรืออื่นๆเพียงเล็กน้อย ในการระบายสีจะต้องใช้พู่กันชนิดขนแข็งมาก และระบายปัดไป
ื่
ปัดมาเพอให้เกิดร่องรอยของพู่กันขึ้น
2.1.5 การป้ายโต๊ะสีหนาๆ (Impasto)
สีอะคริลิคเป็นสีที่เหมาะที่สุดส าหรับกรรมวิธีการป้ายหรือโปะสีแบบ
ต่างๆเพราะแห้งเร็วกว่าซึ่งท าให้ฝุ่นละอองไม่มาจับเกาะและไม่กระเทาะร่อนหลุดเพราะสีเกาะกันได้
อย่างทันที
3. ขั้นตอนการสร้างงานจิตรกรรม
การคิดสร้างสรรค์ คือ วิธีการคิดของมนุษย์ นับเป็นองค์ประกอบส าคัญของการสร้าง
งานศิลปะทุกแขนงเป็น คุณสมบัติที่เป็นธรรมชาติที่มีอยู่ในตัวของมนุษย์แต่ละคนพอจัดแบ่ง
ขั้นตอนการคิดสร้างสรรค์ได้ 4 ขั้นตอน คือ
้
3.1 ขั้นเตรียม เป็นที่รวบรวมขอมูลต่างๆ ในแขนงของงานที่ก าลังด าเนินการอยู่ต้อง
พยายามหาประสบการณ และรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองให้มากที่สุด เพื่อจะได้รู้ถึงปัญหาต่างๆ
์
3.2 ขั้นฝึกตัว เป็นระยะที่ยังไม่เกิดผลงาน ข้อมูลที่รวบรวมจึงจากขั้นเตรียมได้เห็น
ปัญหาที่เกิดขึ้น ต้องหาทางแก้ไขให้บรรลุเป้าหมายถ่ายคุณเครียดควรพักผ่อน
3.3 ขั้นคิดออก ในขั้นนี้จากการฝึกตัวของปัญหาและประสบการณ์ของผู้สร้างงาน
ความคิดเริ่มปลอดโปร่งเริ่มมองเห็นทางแก้ไขต้องรีบด าเนินการทันที ไม่ควรปล่อยให้เวลาผ่านไป