Page 28 - ว่าวมลายู
P. 28
21
สี่ของปีกว่าว และห่างจะถูกออกแบบเป็นซีกเดียวโดยใช้เทคนิคลอกลายจากกระดาษกดรอยหรือ
กระดาษหมึก การออกแบบลวดลายบนว่าวมลายู ส่วนใหญ่จะเป็นลวดลายพฤกษาดัดแปลงจาก
่
ธรรมชาติ การเลือกสีก็เป็นส่วนส าคัญ ว่าวที่มีคุณภาพต้องมีสีกลมกลืน เช่น การเลือกสีที่ออนนุ่มหรือ
ต้องใช้สีม่วงอ่อน การเลือกสีที่สง่าก็ใช้สีแดง ทอง น้ าเงิน เป็นต้น
สรุปได้ว่าการเชื่อมต่อของลวดลายบนว่าวเป็นส่วนหนึ่งที่ท าให้ผู้ออกแบบไม่ค่อยมีอสระใน
ิ
การวาดลวดลายที่นอกเหนือจากที่ออกแบบไว้ การออกแบบส่วนใหญ่จะลอกลายจากลายผ้าโสร่ง คน
สมัยก่อน ชาวมาลายูจะสร้างว่าวจ านวนมากด้วยตัวเอง เป็นว่าวที่ออกแบบจากต้นฉบับว่าวสมัย
โบราณที่คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยพบเห็นมากนัก
การจัดองค์ประกอบศิลป์
การจัดองค์ประกอบศิลป์ คือ การน าเอาองค์ประกอบของศิลป์มาจัดประกอบเข้าด้วยกันด้วย
ความพอดี เหมาะสม ท าให้งานศิลปกรรมชิ้นนั้นเกิดความสวยงาม ความไพเราะและมีคุณค่า
การจัดองค์ประกอบของศิลป์ทางศิลป์ (Visual Arts) คือ การน าเอาทัศนธาตุ (Visual
ั
่
ื้
Elements) อนได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ าหนักออนแก่ บริเวณว่าง สี และพนผิว มาจัด
ประกอบเข้าด้วยกัน จนเกิดความพอดี เหมาะสม ท าให้งานศิลปกรรมชิ้นนี้มีคุณค่าอย่างสูงสุด (วุฒิ
วัฒนสิน, 2539 : 133) ซึ่งการจัดองค์ประกอบของศิลป์ประกอบด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้
1. ความสมดุล (Balance)
2. จุดเด่น (Dominance)
3. จังหวะ (Rhythm)
4. สัดส่วน (Proportion) และขนาด (Size)
5. ทิศทาง (Direction)
6. ความกลมกลืนและความตัดกัน (Harmony and Contrast)
7. เอกภาพ (Unity)
1.ความสมดุล (Balance)
การน าความสมดุลไปใช้ในงานทัศนศิลป์บ่อยๆ มีประสบการณ์ในการสังเกตมากๆ
ึ
เป็นสิ่งที่ส าคัญและพงปฏิบัติ เพราะความสมดุลในงานทัศนศิลป์เป็นผลจากความรู้สึกและ
อารมณ์ ซึ่งไม่เหมือนกับความสมดุลของน้ าหนักทางกายภาพ (วุฒิ วัฒนสิน, 2539 : 142)
1.1 ความหมายของความสมดุล
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานระบุว่า สมดุล (อ่าน สะ-มะ-ดุล)
หมายความว่า เป็นการเสมอกันเท่ากัน
สมดุลหมายถึงการที่น้ าหนักของวัตถุนั้นไปรวมกันที่จุดหนึ่งที่เรียกว่า จุด
ศูนย์กลาง (Gravity) โดยเกิดจากความเท่ากันของซ้ายและขวาทั้งที่เป็นจริงและรู้สึกช่วยให้ผลงานมี
ความมั่นคง สง่าและมีเสน่ห์ (ธิดา ชมพูนิช, 2526 : 40)