Page 24 - ว่าวมลายู
P. 24
17
ภาพประกอบที่ 2.8 แสดงภาพกลุ่มอนุรักษ์ว่าวมลายู
สืบค้นจาก http://bebaspatani.com/?p=4692
ื
สมัยก่อนการท าว่าวเบอร์อามัส หรือว่าวทอง หรือภาษามลายูเรียกว่า ว่าวเบอร์ออมัส แต่ละ
ตัวจะต้องใช้ช่างถึง 7 ช่างว่าว ประกอบด้วย คนหาไม้ไผ่ คนเหลาไม้ไผ่ ซึ่งเป็นช่างเดียวกัน ช่างผูก
เชือก ช่างกระดาษ ช่างท าลวดลาย ช่างเชือก และช่างตาบอด เนื่องจากว่าวเบอร์อามัสเป็นว่าวชั้นสูง
ื่
กษัตริย์ในสมัยก่อน ก่อนจะขึ้นว่าวก็จะต้องแปะสีทองที่หัวก่อน โดยจะท าการขึ้นว่าวเพอท านาย
ื่
พยากรณ์ ดิน ฟา อากาศ ส าหรับการท านาหลังเก็บเกี่ยวข้าวเรียบร้อยแล้ว เพอจะดูว่าปีหน้าฝน น้ า
้
เป็นอย่างไร
ในส่วนของกลุ่มของคนรักว่าวยะลานี้ สมาชิกของกลุ่ม 1 คน ก็จะมีความสามารถ 2 ด้าน
แบ่งหน้าที่กันท า ส าหรับว่าวที่ทางกลุ่มผลิตก็จะมีทั้งว่าวที่มีอยู่ในพนที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ รวมทั้ง
ื้
ว่าวที่ยู่ตามภาคต่างๆ ในประเทศไทย ทั้งว่าวเบอร์อามัส (ว่าวทอง) ว่าวบูลัน (ว่าววงเดือน) ว่าวกูบา
(ว่าวควาย) ว่าวกูจิง (ว่าวแมว) ว่าวยาลาบูดี ว่าวนก จะอนุรักษ์หมด ซึ่งกลุ่มรักว่าวยะลานี้เป็นศูนย์
แรกที่จัดตั้งขึ้นมาเพอรวบรวมผลงานของว่าวจังหวัดยะลา 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เหมือนเป็น
ื่
์
ื่
พิพิธภัณฑว่าว เพอให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ หลังจากนี้ทางกลุ่มฯ ก็จะพฒนาชิ้นงานให้เป็นสินค้า
ั
โอทอป ระดับประเทศ เป็นโมเดลว่าว พร้อมทั้งจะจ าหน่ายตามบูธ ตามงานต่างๆ อีกด้วย
ขณะที่ นายวินัย มะดารี ช่างกล้อง กล่าวว่า หลังจากได้เข้ามาสัมผัสกับกลุ่มรักว่าวยะลา ว่าว
ของกลุ่มนี้จะมีความโดดเด่นอยู่ในตัว จะมีทั้งว่าวแบบสวยงาม ว่าวเชิงอนุรักษ์ โดยทางกลุ่มฯ จะมี
พฒนาการอย่างต่อเนื่อง สามารถน าไปจัดบูธโชว์ จัดนิทรรศการ พร้อมทั้งให้ความรู้แก่ประชาชน
ั
รวมทั้งยังจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ว่าวเล็กๆ ซึ่งอยู่ในกรอบรูป ที่เหมาะกับเป็นของฝากในพนที่บ้านเรา และ
ื้
ที่ส าคัญก็ยังเหมาะกับการเรียนการศึกษาของเด็ก ซึ่งจะเป็นการต่อยอดในวิชาศิลปะการงานอาชีพได้
อีกด้วย (Anan promjai, 2559 : ออนไลน์ )