Page 23 - ว่าวมลายู
P. 23

16







                              ส าหรับว่าวที่ทางกลุ่มผลิตในปัจจุบัน จะมีว่าวหลายแบบหลายชนิดทั้งว่าวเบอร์อามัส ว่าว
                       ไทยในภาคใต้ และภาคอนๆ รวมทั้งว่าวมาเลเซีย บางชิ้นก็น าลายเก่าดั้งเดิมมาผสมกับลายใหม่ เป็น
                                           ื่
                                                                                                 ื่
                       ดอกไม้บ้าง ใบไม้ บ้าง ว่าวแต่ละตัวก็จะเป็นเอกลักษณ์ของทางกลุ่ม ที่ไม่เหมือนกับที่อน ผลิตไป
                       เรื่อยๆ ซึ่งว่าวแต่ละตัวจะต้องใช้เวลาท าร่วมเดือนจึงจะแล้วเสร็จ หากมีออเดอร์สั่งเข้ามาจะท าให้ผลิต

                       ไม่ทัน โดยจะท าปีต่อปี เนื่องจากว่าถ้าท าเก็บไว้จะท าให้ว่าวสึกหรอได้ ส าหรับว่าวที่ได้รับความนิยมก็
                       จะเป็นว่าวในกรอบรูป ราคา ชิ้นละ 1,650 บาท ส่วนว่าวตัวใหญ่ ซึ่งมีราคาตัวละ 3,000-4,000 บาท
                       ก็มีซื้อบ้าง


                              ในส่วนของรายได้ที่เข้ามานั้น ปัจจุบันทางกลุ่มก็ยังอยู่ไม่ได้ เนื่องจากการว่าวในกรอบรูป ซึ่ง
                       ท าในลักษณะเป็นของที่ระลึก เป็นของฝาก คนหนึ่งก็จะซื้อเพยงชิ้นสองชิ้น รายได้ที่ได้มาก็จะต้อง
                                                                           ี
                       น ามาใช้เป็นทุนในการผลิตว่าวตัวต่อไป แต่ทุกคนก็ท าด้วยใจรัก ซึ่งเชื่อว่าอนาคตจะไปได้แน่นอน
                       นอกจากการท าว่าวในกรอบรูปแล้ว ทางกลุ่มก็มีแนวคิดที่จะต่อยอด ผลิตว่าวเบอร์อามัสมาอยู่ที่เสื้อ

                       แก้ว หมวกกอปิเยาะ ของชาวมุสลิม เพื่อให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น

                              หลังจากจัดตั้งกลุ่มมาปีกว่า ได้รับการตอบรับจากประชาชนเป็นอย่างดี รวมทั้งหน่วยงาน
                       วัฒนธรรมยะลาก็ได้เข้ามาให้การสนับสนุนช่วยเหลือทางกลุ่ม ในการออกบูธจัดแสดงตามงานต่างๆ

                       พร้อมทั้งจัดงบประมาณให้



















                                                  ภาพประกอบที่ 2.7 แสดงภาพกลุ่มอนุรักษ์ว่าวมลายู
                                               สืบค้นจาก http://bebaspatani.com/?p=4692


                              ด้าน นายมูฮมหมัดยากี เจ๊ะแว ช่างลาย กล่าวว่า ส าหรับขั้นตอนในการท าลายนั้น ก็ต้องมี
                                        ั
                       การศึกษาประวัติสมัยก่อน ลายดั้งเดิม ซึ่งจะมีลวดลายต่างๆ เมื่อเข้าใจแล้วก็ต้องมาเรียนรู้โครงสร้าง
                       ของว่าว และต้องมาคิดลายที่จะน ามาวางในตัวว่าว เพอให้มีรูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งว่าวแต่ละตัวก็จะ
                                                                    ื่
                       วางรูปแบบไม่เหมือนกัน โดยทางกลุ่มจะเน้นลายธรรมชาติเป็นหลัก เช่น ใบไม้ ดอกไม้ จะไม่เน้น

                       สิงสาราสัตว์ หลังจากคิดลายเสร็จก็จะมาเขียนลายลงบนกระดาษ แล้วก็น ามาแกะโดยใช้คัทเตอร์แกะ
                       ไปตามลายจนหมด หลังแกะลายเสร็จก็จะน ากระดาษสีมาไล่ซ้อนกันไปเรื่อยๆ ผสมผสานกันไป
                       แล้วแต่จินตนาการ ดูที่ความเหมาะสมและสีสัน ซึ่งในว่าวหนึ่งตัวก็จะใช้เวลาท านานร่วมเดือน

                       เนื่องจากจะต้องใช้ความประณีต ความละเอียดในการท า ว่าวที่ออกมาจึงจะสวยงาม โดยว่าวแต่ละตัว
                       ก็จะต้องมีการเน้นจุดเด่นด้วย เพื่อให้ว่าวมีหลายมิติ มีชีวิตชีวา ดูแล้วเป็นธรรมชาติมากที่สุด
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28