Page 9 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา ผ้าลายยะลารวมใจ (ยาลอจาโปรฮาตีกีตอ)
P. 9
-8-
ั
ั
จังหวัดยะลา ดำเนินการสำรวจและค้นหาและออกแบบลายผ้าอตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา เพื่อนำมาพฒนา
ต่อยอดสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นกับภูมิปัญญาผู้ประกอบการผ้าในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ ของจังหวัดยะลา
จากการสืบค้นลายผ้าอตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา ปรากฏว่าจังหวัดยะลายังไม่มีลายผ้าอตลักษณ์
ั
ั
ั
ประจำจังหวัด คณะทำงานประกอบด้วย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา สำนักงานพฒนาชุมชน
จังหวัดยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ภูมิปัญญาผู้ประกอบการผ้าในจังหวัดยะลา จำนวน ๙ กลุ่ม ประกอบด้วย
๑) กลุ่มศรียะลาบาติก ๒) กลุ่มฮิบรอฮิมบาติก
๓) กลุ่ม Adel Kraf ๔) กลุ่มอาดือนันบาติก
๕) กลุ่มเก๋บาติก ๖) กลุ่มครูผีเสื้อ
๗) กลุ่มทอผ้านิคมกือลอง ๘) กลุ่ม Assama Batik
๙) กลุ่มเยาวชนบือแนบาติก
การนำข้อมูลสิ่งที่บ่งชี้ของจังหวัดมาใช้เป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายผ้าอตลักษณ์ประจำ
ั
จังหวัดยะลา โดยนำคำว่า ยะลอ หรือ ยาลอ ชื่อเมืองยะลาภาษาพื้นเมืองมลายู ซึ่งแปลว่า แห หรือตาข่าย และ
ิ
ดอกพกุล ดอกไม้ประจำจังหวัดยะลา มากำหนดและออกแบบลวดลาย โดยผู้ประกอบการ และภูมิปัญญาด้านผ้า
ื่
ได้ร่วมกันออกแบบลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา เพอให้ทุกภาคส่วนในจังหวัดยะลาได้มีส่วนในการคัดเลือก
ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา ผ่านระบบ Google Form จำนวนทั้งสิ้น ๑๓ ลาย
จากการคัดเลือกของประชาชนจังหวัดยะลา ได้เลือกลายของกลุ่ม Assama Batik ซึ่งออกแบบโดย
นางสาวอสสือเม๊าะ ดอมะ และร่วมตั้งชื่อลาย ว่า “ยะลารวมใจ” ผู้ออกแบบได้นำเรื่องราวในพนที่มาสร้างสรรค์
ื้
ั
ให้เกิดเป็นลวดลายผ้าที่เป็นอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา การออกแบบลวดลายมีแรงบันดาลใจจากดอกไม้
ิ
ประจำจังหวัดยะลา คือ ดอกพกุล และ แห หรือยาลอ สื่อความหมายถึงปวงประชาชนที่มีความสมานฉันท์กลม
ี่
เกลียวกัน ไม่ว่าเชื้อชาติ ศาสนาใด ร้อยเรียงประดุจพน้องที่รักใคร่กัน การผลิตผ้าใช้เทคนิคการผลิตแบบ
ผ้าปาเต๊ะ ซึ่งเป็นผ้าประจำถิ่นคาบสมุทรมลายูสะท้อนอัตลักษณ์ของท้องถิ่น อย่างร่วมสมัยด้วยการเขียน
เทียนหรือพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์โลหะและแม่พิมพไม้ ใช้ผ้าคอตตอน หรือ ผ้าซาติน
์
สีของผืนผ้ากำหนดเป็นสีเขียว ซึ่งเป็นสีประจำจังหวัดยะลา ที่สื่อความหมายถึงผืนป่าอนอดมสมบูรณ์ของ
ุ
ั
จังหวัดยะลา