Page 7 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา ผ้าลายยะลารวมใจ (ยาลอจาโปรฮาตีกีตอ)
P. 7
-6-
"จากภูมิปัญญา สู่ผืนผ้ายะลารวมใจ"ภูมิปัญญาผ้าไทย... ถิ่นแดนใต้ ส่งเสริม
อัตลักษณ์วัฒนธรรมผ้าพื้นถิ่น...สร้างคุณค่าทางสังคม เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
จังหวัดยะลา มีงานผ้าทำมือที่หลากหลาย ทั้งผ้าทอมือเยียรบับระดับราชสำนักจนถึงงานเขียน
ิ
ผ้าบาติกที่ได้รับอทธิพลจากคาบสมุทรมลายูตอนล่าง และงานผ้ามัดย้อมที่มีลวดลายเชิงนามธรรม สีสัน
ิ
สะดุตตา ได้รับอทธิพลของพหุวัฒนธรรมมาจากหลายประเทศ ทั้งอนเดีย อนโตนีเซีย มาเลเซีย รวมถึงจีน
ิ
ิ
้
ื่
ทำให้ผ้าของจังหวัดยะลามีเอกลักษณ์โดดเด่นไม่แพจังหวัดอน ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน และมีชื่อเสียงในเรื่อง
'ผ้าบาติก' หรือ 'ปาเต๊ะ' ผ้าบาติก (Batik) หรือ ปาเต๊ะ(Batek) ซึ่งเป็นผ้าที่สร้างลวดลายที่เกิดจากการกั้นสีด้วย
เทียน แล้วแต้มระบายหรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี โดยรับงานผ้าบาติกมาจากอนโดนีเซีย ผ่านทาง
ิ
มาเลเซีย ด้วยอทธิพลของศาสนาอสลามจึงทำให้ชาวมุสลิมเขตจังหวัดยะลานิยมสวมบาติก จนกลายเป็น
ิ
ิ
ั
ผ้าบาติกกับวิถีชีวิตกลายเป็นของคู่กัน และพฒนากลายเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับหลายชุมชน เทคนิคการ
เขียนเทียนกลายเป็นภูมิปัญญาล้ำค่าของจังหวัดยะลา เอกลักษณ์ของผ้าบาติกของจังหวัดยะลาก็คือสีสันที่สดใส
์
มีเทคนิคในการผลิตหลายแบบ เช่น การเขียนด้วยมือ จัดเป็นผ้าบาติกชั้นสูง การเพนท์ และพมพลวดลายบนผ้า
้
ิ
ู
ื้
ปัจจุบันจังหวัดยะลา มีภูมิปัญญาและแหล่งทำผ้าบาติกที่อยู่หลายกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการฟนฟเทคนิคผ้า
บาติกโบราณมาสร้างลวดลายและปรับสีสันให้ทันสมัยมากขึ้น เช่น ผ้าปะลางิง ของจังหวัดยะลา ชื่อเสียงของผ้า
บาติก ไม่ได้จำกัดเฉพาะภาคใต้เท่านั้น ยังเป็นที่นิยมของคนไทยทุกภาครวมถึงต่างประเทศด้วย เพราะสามารถ
ั
ดัดแปลงเป็นผลิตภัณฑ์อนๆ ได้มากมาย ทั้งผ้าเช็ดหน้า ผ้าพนคอ ผ้าคลุมผม เสื้อผ้า เป็นต้น ความงดงามของ
ื่
ื้
เอกลักษณ์ ผ้าทอท้องถิ่น สีสันลวดลายของผ้าพนถิ่นภาคใต้ การผลิตงานผ้าบาติกหรือปาเต๊ะในจังหวัดยะลา
มีกลุ่มภูมิปัญญาผู้ผลิตผู้ประกอบการ จำนวน ๑๐ กลุ่ม ประกอบด้วย
๑. กลุ่มศรียะลาบาติก ตั้งอยู่ซอยสุขธร 12 ต.สะเตง อ.เมืองยะลา จ.ยะลา ซึ่งมี นายปิยะ สุวรรณ
ู
ื้
พฤกษ์ ครูช่างศิลปหัตถกรรมปี 2560 เป็นผู้เริ่มก่อตั้งการทำผ้าบาติก และริเริ่มฟนฟตำนานของผ้าปะลางิง
กลับมาสร้างชื่อเสียงให้แกจังหวัดยะลาอกครั้ง “ผ้าปะลางิง” เป็นผ้าในตำนาน ได้สูญหายไปร่วม 80 ปี ผืนผ้า
่
ี
ใช้การทอ ไม่ว่าจะเป็นการทอด้วยฝ้ายกับฝ้าย หรือไหมกับฝ้าย ก่อนที่จะมาทำเป็นผ้ามัดย้อม เขียนลวดลาย
พิมพ์ลายผ้า และเก็บสิ ผ้าปะลางิงหนึ่งผืนจะมีหลากหลายสีแต่โทนสีจะเป็นคู่สีตัดกัน
๒. กลุ่มฮิบรอฮิมบาติก จัดตั้งกลุ่มตั้งแต่ปี 2548 โดยนายฮบรอเฮง มีดามี ได้รวมกลุ่มชาวบ้าน
ิ
ื่
ทำผ้าบาติก มีทั้งผ้าชิ้น และผ้าตัดเย็บ เป็นเสื้อ ของชำร่วย ต่างๆ โดยมีการผลิตเพอจำหน่ายในพื้นที่ และเป็น
สินค้าโอท็อปของจังหวัดยะลา ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในพนที่ จุดเด่นของผ้าบาติก
ื้
กลุ่มฮิบรอเฮง ลวดลายเส้นเทียนเล็กเท่ากันหมด มีสีสันที่สวยงาม เป็นสินค้าที่ทำจากมือ (Handmade )
๓. กลุ่ม Adel Kraf โดยนายดุลฟิรตรี เจ๊มะ ตั้งอยู่ถนนผังเมือง ๔ ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา
ื้
จังหวัดยะลา จัดตั้งกลุ่มขึ้นจากความรักและสนใจผ้าพนถิ่นภาคใต้ มาต่อยอดและส่งเสริมผ้าโบราณให้กลับมา
มีชีวิตชีวาอกครั้ง โดยสร้างมิติและสร้างสรรค์ลายบนเนื้อผ้า โดยเทคนิคการเย็บย้อมให้ผ้าธรรมดามีคุณค่าและ
ี
มูลค่าเพิ่ม
๔. กลุ่มอาดือนันบาติก โดยนายอาดือนัน บากา ภูมิปัญญา แนวคิดการผลิตผ้าของกลุ่มนี้คือ
จากการทำผ้าบาติกแบบทั่วไป ศึกษา ลองผิดลองถูก จนพบว่าจังหวัดยะลานอกเหนือจากมีชื่อเสียง ด้าน
กรงนก กริช กล้วยหิน ส้มโชกุน ยังมีชื่อเสียงด้านหินอ่อน มีแหล่งหินอ่อนที่มีคุณภาพ มีสีสันสวยงาม ทั้งสีชมพ ู
ี
เทา ขาว และดำ ประกอบกับจากการสำรวจตลาดผ้าบาติก พบว่าลวดลายหินอ่อนยังไม่มผู้ผลิตรายใดนำมาทำ
ั
ลวดลายบนผ้าบาติก ด้วยเหตุนี้จึงได้พฒนาสร้างสรรค์ “ผ้าบาติกลายหินออน” โดยใช้หลากหลายเทคนิค
่
ผสมผสานทั้งการเขียนสี สะบัดพกัน พนสี เป่า ฉีดน้ำ รวมถึงใช้สีที่ผสมผสานทั้งสีบาติก สีน้ำ และสีน้ำมัน
่
ู่
่
พฒนาค้นพบเทคนิคในการผลิตผ้าบาติกโดยใช้วิธีเขียนเทียผสมผสานดอกดาหลากับลายหินออน เป็นซิกเน
ั
เจอร์ของแบรนด์