Page 8 - ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำจังหวัดยะลา ผ้าลายยะลารวมใจ (ยาลอจาโปรฮาตีกีตอ)
P. 8
-7-
๕. กลุ่มเก๋บาติก โดยนายดาริน ดวงเต็ม ประธานกลุ่ม ผลิตผ้าบาติกด้วยการเขียนเทียน นำสิ่งบ่งชี้
ซึ่งกล้วยหินที่เป็นผลไม้ที่โดดเด่นมีชื่อเสียงเป็นอตลักษณ์ของจังหวัด มาจัดทำผ้าบาติกลายกล้วยหิน โดยให้มี
ั
ื่
ี
ลักษณะโดดเด่นด้านรูปลักษณ์ของ กล้วยหินที่มีลักษณะเหลี่ยมแตกต่างจากกล้วยประเภทอน อกทั้งโดดเด่น
ด้านสีสัน ที่มีสีเหลือง สีน้ำตาล สีเขียว และแซมด้วยสี แดงซึ่งเป็นสีของปลีกล้วย
๖. กลุ่มครูผีเสื้อ นางสาวสันสนีย์ กาหลง ประธานกลุ่มครูผีเสื้อ มีแนวคิดการทำผ้าบาติกหรือปาเต๊ะ
ด้วยการนำประสบการณ์และเทคนิคครูสอนการทำผ้าบาติกมัดย้อมมาแสดงการแครกผ้า ทำเลเยอร์บนพนผ้า
ื้
และนำเทคนิคแปลกใหม่การทำเนพทอลด้วยกระบวนการย้อมโบราณแบบมาเลเซี ที่กำลังจะหายไป
๗. กลุ่ม Assama Batik โดยนางอสสือเม๊าะ ดอมะ อดีตครูสอนศิลปะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ
ั
ซึ่งผันตัวเองมาทำผ้าบาติก เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการออกแบบลวดลายการทำผ้าบาติกด้วยการผสมผสาน
เทคนิคการออกแบบ ศิลปะ การทำผ้ามัดย้อมและการตัดเย็บเสื้อผ้า ผลงานที่ริเริ่มสร้างสรรค์และจุดเด่นของ
ผลงานที่แตกต่างจากผลงานผู้อน ได้แก่ ลายผ้าบาติกที่ใช้เขียนโดยใช้เทคนิคการย้อมสี ประกอบการใช้เทียน
ื่
ป้ายเพื่อให้เกิดเส้นเทียนแตก ลักษณะคล้ายสายหินแตก
๘. กลุ่มเยาวชนบือแนบาติก โดยนายปริญญา ยือราน ประธานกลุ่ม ได้รวมกลุ่มเยาวชนในตำบลบุดี
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยให้ ผลิตผ้าบาติกจนสามารถสร้างงาน สร้างงรายได้ สามารถกระจาย รายได้สู่
ชุมชน และกลุ่มเยาวชนเกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อกด้วย เกิดแรงบันดาลใจจากสิ่งที่มีอยู่แล้วใน
ี
ท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์
๙. กลุ่มมดย้อมธาตุดิน โดยนายศรีเพญ รักขุนส่อง ประธานกลุ่ม ใช้เทคนิคเย็บย้อมเนารูดด้วยดิน
็
ั
นำมาเป็นทำสีย้อมผ้า หมักผ้าให้นุ่มและกันสีไม่ให้ตกด้วยสีธรรมชาติ ลวดลายผ้าจากผ้าโบราณพนถิ่น
ื้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
๑๐. นานาไอเดียร์ โดยนายมธุรส ดีเสมอ ประธานกลุ่ม มีแนวคิดในการทำผ้าด้วยการนำผ้าย้อมสี
ธรรมชาติเทคนิค Eco Printing ภาพพมพจากใบไม้ นำใบไม้แต่ละชนิดมาวางให้เป็นรูปของดอกดาหลา แทรก
์
ิ
ใบไม้ตัดเป็นอักษรพระราชทาน S ในลายผ้า ด้วยการโอนสีจากใบไม้สู่ผืนผ้า ด้วยความโชคดีของจังหวัดยะลาที่
มีผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ใบไม้หลากหลาย จึงทำให้เกิดนานาไอเดีย
นอกจากกลุ่มผู้ผลิตผ้าบาติก/ปาเต๊ะ ในจังหวัดยะลายังมีกลุ่มทอผ้านิคมกือลอง โดย นางหนูเตียน ผัน
ผ่อน ประธานกลุ่ม กลุ่มทอผ้านิคมกือลองเป็นกลุ่มแรกกลุ่มเดียวในจังหวัดยะลา ที่มีความพเศษในการใช้
ิ
เทคนิคการย้อมสีธรรมชาติจากท้องถิ่นอำเภอบันนังสตาสู่การประยุกต์ลงบนผืนผ้าทอ
สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาตของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๕ (COVID- ๑๙) ท ำให้
ประเทศไทยอยู่ในภาวะวิกฤติ ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อการใช้ชีวิตของประชาชนทั่วประทศ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งต่อรายได้ของประชาชนผู้มีรายได้น้อย และผู้ประกอบการรายย่อยทั้งผู้ผลิต และผู้จำหน่าย ผลิตภัณฑ์
ประเภทผ้า และเครื่องแต่งกาย ซึ่งเป็น “เศรษฐกิจฐานราก” ขาดโอกาสในการนำเสนอผลิตภัณฑ์สู่มือ
ื้
ผู้บริโภค และประสบกับปัญหาการระบายสินค้า การพนตัวของเศรษฐกิจไทยจึงต้องหันกลับมาสร้างความ
เข้มแข็งภายในประเทศอนเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ หรือก็คือ การสร้างรากฐานให้มั่นคง ควบคู่ไปกับการ
ั
กระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค
ื่
เพอสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี
ิ่
หลวง และอนุรักษ์ผ้าไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดิน ตลอดจนการเพมรายได้ให้ผู้ประกอบการ ต่อยอด ภูมิปัญญา
เกี่ยวกับการแปรรูปผ้าไทย ผลิตเป็นสินค้าต่าง ๆ เพอให้เกิดประโยชน์ในการส่งเสริมเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
ื่
และสร้างเศรษฐกิจฐานรากในระดับจังหวัดและชุมชน ช่วยให้ชุมชนมีรายได้จากการขายผ้าไทยในช่วงที่ได้รับ
ผลกระทบจากโควิด-19 ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา นายภิรมย์ นิลทยา เล็งเห็นความสำคัญของการพฒนาและ
ั
ยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้า โดยมอบหมายให้สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา ร่วมกับสำนักงานพัฒนาชุมชน