Page 97 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๒
P. 97

96


          ผลง�นและเกียรติคุณเด่น
              1.  การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตชายแดนใต้ภายใต้ความร่วมมือกับสหภาพยุโรป
          ซึ่งดำาเนินการระหว่างปี ค.ศ.2009 – 2011  ซึ่งมีผลกระทบในวงกว้างต่อระบบการเยียวยาและ

          ดูแลผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดังนี้
                     1) สตรีหม้ายและครอบครัวได้รับการพัฒนาอาชีพ  ทำาให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและ
          ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ได้รับผลกระทบ  และการเข้าถึงการศึกษาของเด็กกำาพร้ามากยิ่งขึ้น
          กลุ่มชอแม  (กลุ่มอาชีพทำาผลิตภัณฑ์จากผ้าปาเตะ)
                     2) เป็นจุดเริ่มต้นในการให้ความสำาคัญกับการพัฒนาภาคประชาสังคมในจังหวัด
          ชายแดนภาคใต้ให้มีศักยภาพในการพัฒนาที่ยั่งยืน    ทำางานบูรณาการเป็นเครือข่าย    มีภาวะ
                                                               ำ
          ผู้นำา  ซึ่งปัจจุบันภาคประชาสังมคมดังกล่าวเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพฒนาพื้นที่และสร้าง
          สันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ศวตช. นราธิวาส
                     3) มีการปรับปรุงระบบสวัสดิการในการช่วยเหลือบุคลากรภาครัฐที่พิการจาก
          การปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นระบบภายใต้แผนงานวิจัยติดตามผู้พิการจากเหตุความไม่สงบฯ  โดย
          เฉพาะเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง

                     4) ทำาให้มีการทบทวนระบบการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาวะของเด็กในภาค
          สาธารณสุขในวงกว้าง    โดยเฉพาะการทบทวนระบบการเฝ้าระวังและดูแล    ภาวะโภชนาการ
          และความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน    จากแผนงานวิจัยเรื่องผลกระทบของเหตุความไม่
          สงบฯ ต่อสุขภาวะของเด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้
              2. การขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาวะชายแดนภาคใต้  โดยความร่วมมือขององค์การ
          ยูนิเซฟ  ประเทศไทยภายใต้โครงการ  Stituation  Analysis  of  Children  and  Women
          in  the  Southern  Border  Provinces  และ  Access  and  Utilization  of  Services
          among  Orphans  South  of  Thailand
              3. การเสริมสร้างสันติสุขชายแดนใต้ผ่านระบบสุขภาวะ  ภายใต้แนวคิด  Health  Estab-

          lish  to Peace ซึงเป็นกิจกรรมที่ดำาเนินการต่อเนื่องจากโครงการพัฒนากลไกการสร้างสันติสุข
          ในชายแดนใต้โดยใช้ระบบสุขภาพเป็นฐาน  โดย  ดร.รอฮานิ    เจะอาแซ    ริเริ่มผลักดันแนวคิด
          Health  Establish  to  Peace  ดังกล่าวสู่ระบบการศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
          คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตปัตตานี
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102