Page 74 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๐
P. 74

73


          กิจกรรมพิเศษ
                  -  ประธาน “โครงการตรวจสุขภาพพระสงฆ์ ถวายเป็นธรรมบูชา” โดยเป็นผู้ริเริ่ม โครงการ
          นี้ตั้งแต่ปี  2554  เน้นดูแลสุขภาพพระสงฆ์ที่อยู่ต่างจังหวัด    รวมทั้งพระธรรมทูตและพระสังฆาธิการ
          โดยจัดต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี มีพระสงฆ์เข้ารับการตรวจจ�านวนกว่า 3,000 รูปและได้มีการบรรยายให้

         ความรู้แด่พระสงฆ์  รวมทั้งจัดท�าหนังสือคู่มือดูแลสุขภาพส�าหรับพระสงฆ์ชื่อ  “อโรคยา  ปรมาลาภา”
         และถวายให้แด่พระสงฆ์ทั่วประเทศเป็นจ�านวน 10,000 เล่ม
                  - ประธานโครงการปันรักเพื่อน้อง”  โดยให้บริการตรวจสุขภาพเด็กก�าพร้า รวมทั้งอบรม
         ผู้ดูแลเด็กก�าพร้าในสถานเลี้ยงเด็กเพื่อให้ดูแลเด็กที่ป่วยเป็นโรคระบบทางเดินหายใจและภูมิแพ้  อย่าง
         ต่อเนื่อง ครั้งล่าสุดคือเมื่อวันที่ 7มกราคม ได้จัดกิจกรรม ตรวจสุขภาพเด็กก�าพร้าจ�านวนเกือบ 1,000
         คนที่วัดห้วยปลากั้ง จังหวัดเชียงราย
                  - ประธานโครงการ “Thai Kid’s spacer ลมหายใจแห่งรักสู่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้”
         ผลงานและเกียรติคุณ
               • เป็นผู้คิดค้นผลิตนวัตกรรมเพื่อช่วยผู้ป่วยโรคหืดและภูมิแพ้  ได้แก่  ผลิตอุปกรณ์ช่วยพ่นยา

               รักษาโรคหืด (spacer) คือ Do-It-Yourself (DIY) spacer และ Thai Kid’s spacer ซึ่งขณะ
               นี้ได้แจกจ่ายฟรีไปยังโรงพยาบาลชุมชนต่างๆทั่วประเทศจ�านวน  134  โรงพยาบาลครอบคลุม
               56 จังหวัดทั่วทุกภาคของประเทศไทย ขณะนี้ไปถึงมือผู้ป่วยกว่า 100,000 คน โดยได้รับการ
               สนับสนุนจาก SCG chemicals สถาบันพลาสติกแห่งประเทศไทย นิคมอุตสาหกรรม EXIM
               Bank และ Asian Institute of Technology รวมทั้งจิตอาสาต่างๆ  ปัจจุบันโครงการนี้ได้
               รับคัดเลือกจากส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  (กพร.)  ให้ส่งประกวดรางวัล
               United Nations Public Service Awards ในหัวข้อเรื่อง “An Innovative Approach to
               Fight Asthma in Children”
               • เป็นผู้คิดค้นวิจัยผลิตยาสมุนไพรไทยเพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคหืดและภูมิแพ้  โดยได้รับ
               ทุนสนับสนุนจากโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติและกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผน
               ไทย  กระทรวงสาธารณสุข  ในการพัฒนายาแคปซูลไพล  ปัจจุบันได้ท�าการวิจัยร่วมกับณะ

               แพทยศาสตร์จาก  4  มหาวิทยาลัย  นักวิจัยด้านพิษวิทยาและเภสัชศาสตร์จากมหาวิทยาลัย
               มหิดล  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ได้ท�าการศึกษาในมนุษย์  รวมทั้งจดสิทธิบัตรเกี่ยวกับ
               กระบวนการผลิตยา และตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ อยู่ในขั้นตอนที่เตรียมจะขอขึ้นทะ
               เบียนอย.  ซึ่งโครงการวิจัยดังกล่าวเมื่อส�าเร็จแล้วจะมีผลดีต่อประเทศชาติ  ท�าให้ลดค่าใช้จ่าย
               ในการรักษาเนื่องจากไม่ต้องสั่งซื้อยาราคาแพงจากต่างประเทศ  และเป็นการท�าให้เกิดมูลค่า
               เพิ่มของสมุนไพรไทย
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79