Page 18 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๐
P. 18

17


                                                                       ั
                                                     ื
          สนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์ของภาคพ้นเอเชียและของโลกรวมท้งการสนับสนุน
          นโยบายของรัฐบาล มีดังนี้
               1.  ผลงานวิจัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์สุวรรณ  1  สร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจครบวงจร
                  ตั้งแต่ราคาที่เกษตรกรได้รับหน้าฟาร์ม  การผลิตอาหารสัตว์  การส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์
                  ผลิตภัณฑ์แป้ง/น�้ามันข้าว มูลค่าเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ในประเทศและการส่งออกเมล็ดพันธุ์ในช่วง
                  ปี 2518 - 2541 คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 3 แสนล้านบาท
               2.  งานวิจัยข้าวโพดหวานพันธุ์อินทรี  2  สร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจครบวงจรตั้งแต่ราคาที่
                  เกษตรกรได้รับหน้าฟาร์มการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานฝักสด/ฝักต้ม  การแปรรูป
                  น�้านมข้าวโพดหวานและข้าวโพดหวานกระป๋อง  ตั้งแต่ปี  2542  ถึงปัจจุบัน  คิดเป็นมูลค่า
                  รวมกว่า  1  พันล้านบาท  เกษตรกรในเขตจังหวัดตรังและสตูลนิยมปลูกผักอินทรี  2  ใน
                  ฤดูแล้งให้ผลตอบแทนต่อไร่สูงและจังหวัดดังกล่าวมีการจัดงานส่งเสริมการปลูกข้าวโพด
                  หวาน
               3.  ผลงานวิจัยข้าวโพดฝักอ่อนที่ไม่ต้องถอดยอดพันธุ์  เกษตรศาสตร์  1  และข้าวโพดฝักอ่อน
                  ที่ไม่ต้องถอดยอดพันธุ์  เกษตรศาสตร์  3  เป็นนวัตกรรมพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อนที่ไม่ต้องถอด
                  ยอดพันธุ์แรกของโลกช่วยลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนของเกษตรกรให้สามารถ
                  แข่งขันได้กับประเทศที่มีค่าแรงงานต�่ากว่า
               4.  ผลงานวิจัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์สุวรรณ  5  เป็นข้าวโพดหมักพันธุ์แรกของประเทศไทย
                   ี
                                                                      ื
                                                    ี
                                                                ี
                                                                                 ิ
                  ท่ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตเป็นอาหารหยาบท่มีคุณภาพดีใช้เล้ยงโคเน้อและโคนมเพ่ม
                                                                ี
                         ้
                                         ้
                                         �
                         �
                                                                           ิ
                  ปริมาณนานมและโปรตีนในนานมตามนโยบายของรัฐบาลท่ต้องการให้เพ่มปริมาณ
                  โปรตีนในน�้านมจาก 11.5 % เป็น 12.5 % และกรมปศุสัตว์ได้น�าพันธ์สุวรรณ 5 ไปส่ง
                  เสริมเกษตรกรแล้วในภาคใต้  เกษตรกรปลูกพันธุ์สุวรรณ  5  ที่ลุ่มน�้าปากพนังจังหวัด
                  นครศรีธรรมราชและน�าไปท�าข้าวโพดหมักที่จังหวัดพัทลุงเพื่อใช้เลี้ยงโคเนื้อและโคนม
               5.  ข้าวโพดลูกผสมเดี่ยวแอนโทไซยานินสูงพันธุ์ KPSC 901 และ KPSC 4903 เพื่อเพิ่มมูลค่า
                                               ื
                  ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเป็นข้าวโพดเพ่อสุขภาพโดยเฉพาะผู้สูงอายุและผู้ป่วยช่วยต้าน
                  อนุมูลอิสระ
               6.  ข้าวโพดลูกผสมเดี่ยวน�้ามันสูงพันธุ์  KOSX  5401  และ  KOSX  5402  เพื่อเพิ่มมูลค่าเป็น
                  น�้ามันพืชเกรดพรีเมี่ยมเพื่อสุขภาพไม่มีคอเลสเตอรอลและมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง
               7.  พันธุ์ข้าวโพดเล้ยงสัตว์ข้าวโพดหวานข้าวโพดฝักอ่อนและข้าวโพดหมักดังกล่าวสามารถนา �
                             ี
                                                                              ้
                                                                              �
                  ไปปลูกทดแทนการปลูกข้าวในฤดูแล้งเพ่อลดปริมาณการใช้นาเน่องจากข้าวโพดใช้นาน้อย
                                                              �
                                                              ้
                                                                ื
                                               ื
                  กว่าค่าประมาณ 2.5 ถึง 5 เท่าข้าวโพดฝักอ่อนพันธุ์เกษตรศาสตร์ 3 มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น
                  ประมาณ 60 วันสามารถปลูกได้ 4 ถึง 5 รุ่นต่อปีและข้าวโพดหวานพันธุ์อินทรี 2 มีอายุเก็บ
                  เกี่ยวประมาณ 68 วันสามารถปลูกได้ 3-4 รุ่นต่อปีและข้าวโพดหมักพันธ์สุวรรณ 5 มีอายุ
                  เก็บเกี่ยวประมาณ 85 วันช่วยให้เกษตรกรมีเงินหมุนเวียนเร็ว
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23