Page 47 - สงขลา
P. 47
47
ความเป็นมา “ชุมทางหาดใหญ่”
น้ าท่วมทุกปีจึงย้ายออกมาตั้งสถานีใหม่ที่โคกเสม็ดชุน
หาดใหญ่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้มีการประชุมระหว่างข้าราชการ
ี
ปลัดเทศบาล นายช่างรถไฟ นายไปรษณย์ และพ่อค้า เพื่อเปลี่ยนชื่อ
สถานี เนื่องจากชื่อโคกเสม็ดชุนเรียกยาก เขียนยาก โดยเฉพาะในการ
ติดต่อกับต่างประเทศท่านขุนนิพัทธ์จีนนคร เสนอให้ใช้ “หาดใหญ่”
เพราะท่านใช้ค านี้ติดต่อกับชาวมาเลเซีย ฝรั่ง และจีนในธุรกิจการค้า
ต่าง ๆ ของท่าน และรู้จักกันดีในนามนี้ ในภาษาจีนยังเขียนอ่านได้ว่า
“ฮับใหญ่” ทุกคนเห็นพ้องต้องกัน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “สถานีชุมทาง
ี่
หาดใหญ่” เมื่อปี ๒๔๖๐ ระหว่างสงครามโลกครั้งท ๑ และเป็นปี
เดียวกับที่มีการเปลี่ยนชื่ออ าเภอฝ่ายเหนือเป็นอ าเภอหาดใหญ่ด้วย แต่
็
ที่ว่าการอ าเภอกยังตั้งอยู่ที่เดิม คือที่บ้านหาดใหญ่ริมคลองอู่ตะเภา
บริเวณที่บางคนในยุคนั้นเรียกว่า “บ้านใน” ซึ่งในปัจจุบัน คนในยุค
นี้เรียกว่า “หาดใหญ่ใน” หลายท่านคงสงสัยว่า หาดใหญ่ หรือบ้าน
หาดใหญ่ หาดทรายใหญ่ ท่าหาดใหญ่ ทุ่งหาดใหญ่ เหล่านี้ เป็นท ี่
เดียวกันหรือเปล่า อ่านไปแล้วดูเหมือนไม่ใช่ มีการเรียกหาดใหญ่ทั่วไป
ทั้ง ถนนศรีภูวนารถ ปลายถนนนิพัทธ์อุทิศ ๑-๓ และบริเวณคลองอู่
ตะเภามีหาดทราย ปลายถนนราษฎร์เสรี นอกจากนั้น ยังพบค่ายค ู
ประตูหอรบในป่ายางบ้านพรุใต้เมืองหาดใหญ่ไปราว ๆ ๑๐ กิโลเมตร
ี่
ที่สอดคล้องกับที่กล่าวถึงหาดใหญ่ในการรบทัพจับศึกสมัยรัชกาลท ๓