Page 46 - สงขลา
P. 46

46








                ความเป็นมา “ชุมทางหาดใหญ่”





                                            ใกล้อุโมงค์ลอดทางรถไฟอันเป็นที่ตั้งบ้านเรือนผู้คน                                       ได้


                           ปรากฏหลักฐานว่าเป็นที่ตั้งของบ้านหาดใหญ่ หมู่ที่ ๓ อ าเภอฝ่ายเหนือ



                           เลยไปจนถึงสุดบริเวณสุดสายถนนนิพัทธ์อุทิศ ๓ ระหว่างโคกเสม็ดชุน


                                                                ั
                           และโคกเล็ก ๆ เรียกกนว่า พรุบัว อยู่บริเวณโรงแรมโฆษิต ถัดจาก


                           พรุบัว เข้ามาใจกลางเมืองถึงตลาดกิมหยง พื้นที่มีลักษณะเป็นท้องกะทะ


                           เต็มไปด้วยป่าเสม็ด คนอายุ ๗๐-๘๐ ปี ยังจ าได้ว่า ผู้คนไปหาใบพ้อมา



                           ห่อ “ต้ม” และหาหม้อข้าวหม้อแกงลิงมาใส่ข้าวเหนียวนึ่งในป่าเสม็ดแห่ง


                                                   ื่
                           นี้ แถวถนนเชอมรัฐเป็นท้องนา ในปี ๒๔๘๕ เครื่องบินญี่ปุ่นถูกยิง


                           จากสงขลามาตกหัวปักลงที่ท้องนาน                         ี้    ตรงบริเวณโบสถ์คริสต์ปัจจุบัน


                           บริเวณน้ าพุ แถวบ้านขุนนิพัทธ์จีนนคร ก็เป็นโคกอีกที ก่อนจะลาดต่ า



                           ไปเป็นพรุจนถึงคลองเตย ใกล้ธนาคารแห่งประเทศไทย ส านักงาน


                           ภาคใต้กลับเข้ามาในเมืองแถววัดมงคลเทพาราม (วัดปากน้ า) ถนนแสง



                           ศรี บริเวณนี้เคยเป็นปลัก คือปลักจันเหรง และปลักโต้พุดทองแถว


                           ถนนประชารักษ์ เคยเป็นสวนใหญ่ มีผู้คนที่อยู่มาก่อนพอสมควร เป็น



                           สวนผลไม้ กลวย มะพร้าว และไผ่กอใหญ่ ๆ ขนาดใต้กอไผ่ท าหลุม
                                                   ้

                           หลบภัยสงครามโลกครั้งที่                        ๒ ลงไปหลบได้ทั้งครอบครัว นอกจาก



                           เป็นสวนก็มีที่ชุ่มน้ า เป็นมาบที่กว้างใหญ่ น่านั่งเล่นริมมาบยามบ่ายยาม


                           เย็น สถานีรถไฟที่โคกเสม็ดชุนนี้ เดิมเป็นป้ายหยุดรถ สถานีจริง ๆ



                           คือสถานีชุมทางอู่ตะเภาอยู่เหนือขึ้นไปราว ๓ กิโลเมตร ภายหลังพบว่า


                           ไม่เหมาะเพราะเป็นทต่ า
                                                         ี่
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51